Please use this identifier to cite or link to this item: http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/1121
Title: การกำจัดสีรีแอคทีฟโดยใช้เปลือกหอยที่ผ่านการเผา
Other Titles: Removal of Reactive Dyes by Burned Activated Shell
Authors: Sompil Deeboonno
Keywords: การดูดซับ
เปลือกหอยแครง
เปลือกหอยนางรม
สีรีแอคทีฟ
ไอโซเทอม
Issue Date: 2554
Publisher: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. คณะบริหารธุรกิจ
Abstract: งานวิจัยนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาการดูดซับสีย้อมรีแอคทีฟด้วยเปลือกหอนแครงและเปลืองหอยนางรมที่ผ่านการเผา จากการทดลองพบว่าระยะเวลาสมดุลในการดูดซับสีของเปลือกหอยแครงและเปลือกหอยนางรม เท่ากับ 40 และ 60 นาที ตามลำดับ เมื่อนำแบบจำลองปฏิกิริยาอันดับหนึ่ง และแบบจำลองปฏิกิริยาอันดับสองมาใช้อธิบายลนพลศาสตร์การดูดวับพบว่าแบบจำลองปฏิกิริยาอันดับสองสามารถใช้ได้ดีกว่าแบบจำลองปฏิกิริยาอันดับสองสามารถใช้ได้ดีกว่าแบบจำลองปฏิกิริยาอันดับที่หนึ่ง และไอโซเทอมของการดูดซับสามารถอธิบายได้เมื่อใช้แบบจำลองของแลงเมียร์ และฟรุนดิช โดยเปลือกหอยแครงมีประสิทธิภาพในการดูดซับสูงกว่าเปลือกหอยนางรม ซึ่งมีค่าความจุสูงสุด (Q[subscript max]) เท่ากับ 0.5235 และ 0.4672 มิลลิกรัมต่อกรัม ตามลำดับ และมีค่าคงที่ความจุในการดูดซับ (K[subscript f]) เท่ากับ 0.3765 และ 0.1810 ลิตรต่อกรัม ตามลำดับ แต่ถ้าต้องการบำบัดแบบต่อเนื่องแล้ว ตัวดุดซับที่เป็นเปลือยหอยนางรมที่ผ่านการเผาจะเหมาะสมกว่าเนื่องจากค่าคงที่ที่แสดงถึงพลังงานที่เกิดจากปฏิกิริยา (1/n) ของเปลือกหอยนางรมเผาสูงกว่า โดยมีค่าคงที่ที่แสดงถึงพลังงานที่เกิดจากปฏิกิริยาเท่ากับ 0.1510 และ0.3576 ตามลำดับ This research aims to study the adsorption of reactive dyes by burned activated Cockle shells and Oyster shells. From the experiment, it was found that the equilibration time for adsorption of burned activated Cockle shells and Oyster shells were 40 and 60 minutes respectively. The kinetic models, pseudo-first order and pseudo second order were applied to examine the kmet.es of adsorption. The kinetic experimental data properly correlated with pseudo-second order kinetic model more than pseudo-first order. The adsorption Isotherms could be well explained by Langmuir and Freundlich models. The burned activated Cockle shells were higher adsorption efficacy than Oyster shells. The adsorption capacities (Q[subscript max]) of burned activated Cockle shells and Oyster shells were 0.5235 and 0.4672 mg/g respectively, and sorption capacity (K[subscript F]) were 0.3765 and 0.1810 l/g respectively, but burned activated Oyster shells was proper for treated continuous flow than Cockle shells due to the higher adsorption intensity (1/n) of Oyster shells. The adsorption intensity were 0.1510 and 0.3576 respectively.
URI: http://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/handle/123456789/1121
Appears in Collections:บทความ (Article - EN)



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.