Please use this identifier to cite or link to this item: http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/1133
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorกิตติพงษ์ กิมะพงศ์
dc.contributor.authorบุญส่ง จงกลนี
dc.contributor.authorประจักษ์ อ่างบุญตา
dc.date.accessioned2014-01-16T06:46:57Z
dc.date.accessioned2020-09-24T04:33:37Z-
dc.date.available2014-01-16T06:46:57Z
dc.date.available2020-09-24T04:33:37Z-
dc.date.issued2555
dc.identifier.urihttp://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/handle/123456789/1133-
dc.description.abstractบทความนี้มีจุดประสงค์หลักในการศึกษาการเปลี่ยนแปลงตัวแปรเชื่อมทิกหมุนวนอิเลกโทรดที่ประกอบด้วยความเร็วในการหมุนวนและความเร็วเดินแนวเชื่อม ที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างจุลภาคผลการทดลองโดยสรุปมีดังนี้ การเพิ่มความเร็วรอบการหมุนอิเลกโทรด ความเร็วในการเดินแนว และกระแสไฟฟ้าเชื่อม ส่งผลโดยตรงทำให้ระยะห่างระหว่างแขนเดนไดร์ททุติยภูมิลดลง แต่หากเพิ่มความเร็วรอบการหมุนมากเกินไป ทำให้น้ำในโลหะกระเด็นออกจากบ่อหลอมละลายและไม่ทำให้เกิดแนวเชื่อมขึ้น ค่าความเร็วเดินแนวและกระแสไฟฟ้าที่มากเกินไป ทำให้ระยะห่างระหว่างแขนเดนไดร์ททุติยภูมิเพิ่มขึ้น ตัวแปรการเชื่อมที่มีค่าเหมาะสมที่สุด คือ ความเร็วรอบ 300 rpm ความเร็วเดินแนว 175 mm/mm และกระแสไฟฟ้า 70 แอมแปร์ ที่ค่าประมาณ 5.5104 (mu)m variation of a welded metal microstructure. The main results are as follows. Increasing of a rotating speed, a welding speed and a welding current affected directly to decrease secondary dendrite arm spacing (SDAS). However, when the rotating speed was too high, the molten metal in the weld was seriously splashed out from the welded pool and produced an incomplete weld metal. The too high welding speed and welding current also increased SDAS. The optimum condition that could obtained the fine SDAS was a rotating speed of 300 rpm, a welding speed of 175 mm/min and a welding current of 70A with SDAS of 5.5104 (mu)men_US
dc.language.isothaien_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. คณะบริหารธุรกิจen_US
dc.subjectโลหะ--การเชื่อมen_US
dc.subjectงานเชื่อมไฟฟ้าen_US
dc.subjectโครงสร้างจุลภาคen_US
dc.titleอิทธิพลตัวแปรการเชื่อมแบบหมุนวนอิเลกโทรดต่อสมบัติของโลหะเชื่อมเหล็กกล้าไร้สนิท 304en_US
dc.title.alternativeEffect of Rotating TIG Welding Electrode on AISI304 Welds Propertiesen_US
dc.typejournalen_US
Appears in Collections:บทความ (Article - EN)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
อิทธิพลตัวแปรการเชื่อมแบบหมุนวนอิเลกโทรดต่อสมบัติของโลหะเชื่อมเหล็กกล้าไร้สนิท 304.pdfอิทธิพลตัวแปรการเชื่อมแบบหมุนวนอิเลกโทรดต่อสมบัติของโลหะเชื่อมเหล็กกล้าไร้สนิท 3042.3 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.