Please use this identifier to cite or link to this item:
http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/1293
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | วัชรี มูลทองสุข | |
dc.date.accessioned | 2014-02-06T02:39:18Z | |
dc.date.accessioned | 2020-09-24T04:51:20Z | - |
dc.date.available | 2014-02-06T02:39:18Z | |
dc.date.available | 2020-09-24T04:51:20Z | - |
dc.date.issued | 2555 | |
dc.identifier.uri | http://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/handle/123456789/1293 | - |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อผลิตชุดการสอนแบบอิงประสบการณ์ เรื่อง การใช้โปรแกรมตารางทาการ สาหรับนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่กำหนด 75/75 และ 2) เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา คอมพิวเตอร์เพื่องานอาชีพ เรื่อง การใช้โปรแกรมตารางทาการ กลุ่มตัวอย่างคือ นักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ที่กาลังศึกษาอยู่ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 วิทยาลัยการอาชีวศึกษาปทุมธานี จังหวัดปทุมธานี จำนวน 1 ห้องเรียน 36 คน ได้มาโดยเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) ชุดการสอนแบบอิงประสบการณ์ จำนวน 3 หน่วยประสบการณ์ คือ หน่วยที่ 12 การใช้โปรแกรมตารางทาการ หน่วยที่ 13 การใช้เครื่องหมายคณิตศาสตร์และฟังก์ชั่น และหน่วยที่ 14 การใช้โปรแกรมตารางทาการเพื่องานอาชีพ 2) แบบทดสอบก่อนและหลังเผชิญประสบการณ์ และ 3) แบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อชุดการสอนแบบอิงประสบการณ์ การวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การหาประสิทธิภาพด้วย E1/E2 การทดสอบค่าที ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า 1) ชุดการสอนแบบอิงประสบการณ์วิชาคอมพิวเตอร์เพื่องานอาชีพ เรื่อง การใช้โปรแกรมตารางทาการที่ได้สร้างขึ้นมีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่กำหนดคือ 75/75 คือ 76.33/75.40 , 75.80/73.53 และ 76.66/72.60 2)นักเรียนที่เรียนด้วยชุดการสอนแบบอิงประสบการณ์ มีคะแนนหลังเรียนสูงกว่าก่อนอย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติที่ระดับ 0.5 และ 3) นักเรียนที่เรียนด้วยชุดการสอนแบบอิงประสบการณ์ มีความคิดเห็นต่อคุณภาพการเรียนชุดการสอนแบบอิงประสบการณ์อยู่ในระดับ “เห็นด้วยมาก” | en_US |
dc.description.abstract | The objectives of this research are:1) to make the experience-based instructional package on spreadsheet for vocational certificate student that reaches the efficiency’s standard at 75/75 2) to study the achievement from studying spreadsheet in Computer for Profession subject. Sample of this study is 30 vocational certificate students in a class, first semester, academic year 2012 of Pathumthani Vocational Education College, Pathumthani province, sorted by purposive sampling method. The research tools are 1) 3 modules of professional experience-based instructional package, 12th module, 13th module and 14th module 2) the pre- and post-experience test and 3) the students’ opinions towards the experience-based instructional package assessment form. The data analyses are T-Test, average (X) and standard deviation (S.D.). The study shows that: 1) the experience-based instructional package on the usage of spreadsheet in Computer for Profession subject has an efficiency per standard 75/75 which is equal to 76.33/75.40 , 75.80/73.53 and 76.66/72.60 2) the academic progress of students after studying with the experience-based instructional package is increased significantly statistically at level 0.5 and 3) the students who study with the experience-based instructional package opine towards the package as “extremely agreeable”. | en_US |
dc.language.iso | Thai | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม. เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา | en_US |
dc.subject | การสอนด้วยสื่อ | en_US |
dc.title | ผลการใช้ชุดการสอนแบบอิงประสบการณ์ เรื่อง การใช้โปรแกรมตารางทำการสำหรับนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ | en_US |
dc.title.alternative | The Result of Using Experience-Based Instructional Package on the Usage of Spreadsheet for Vocational Certificate Students | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
Appears in Collections: | วิทยานิพนธ์ (Thesis-TECHED) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
131869.pdf | ผลการใช้ชุดการสอนแบบอิงประสบการณ์ เรื่อง การใช้โปรแกรมตารางทำการสำหรับนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ | 7.54 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.