Please use this identifier to cite or link to this item: http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/1373
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorอมเรศ บกสุวรรณ
dc.date.accessioned2014-02-19T06:36:24Z
dc.date.accessioned2020-09-24T04:35:04Z-
dc.date.available2014-02-19T06:36:24Z
dc.date.available2020-09-24T04:35:04Z-
dc.date.issued2550
dc.identifier.issn1685-5280
dc.identifier.urihttp://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/handle/123456789/1373-
dc.descriptionวารสารวิศวกรรมศาสตร์ ราชมงคลธัญบุรี ปีที่ 5 ฉบับที่ 9 เดือนมกราคม – มิถุนายน 2550en_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ความถี่และแนวโน้มของปริมาณฝนสูงสุดในรอบปีการเกิดต่างๆในพื้นที่จังหวัดแม่ฮ่องสอนซึ่งสามารถนำมาประยุกต์ใช้เป็นข้อมูลสำหรับประเมินพื้นที่เสี่ยงภัยจากอุทรภัยและแผ่นดินถล่มเนื่องจากฝนสูงสุดโดยทำการศึกษาลักษณะภูมิประเทศและสภาพการใช้พื้นที่ รวบรวมข้อมูลน้ำฝนวิเคราะห์ความถี่และแนวโน้มของฝนสูงสุดตามวิธีกัมเบลนำข้อมูลที่ได้มาประเมินพื้นที่เสี่ยงภัยจากการเกิดฝนสูงสุด พบว่าจังหวัดแม่ฮ่องสอนนี้พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นภูเขา เมื่อปริมาณฝนสูงสุด 115 มิลลิเมตร โดยประมาณจะอัตราการไหลหลากของน้ำป่าอย่างรุนแรงเนื่องจากพื้นที่มีความลาดชันมาก บริเวณอำเภอปาย และการเกิดดินถล่มส่วนใหญ่เป็นผลมาจากปริมาณน้ำฝนสูงสุดในรอบการเกิดซ้ำที่ 100 ปี ซึ่งวงจรที่ปรากฏให้เห็นโดยส่วนมากจะเกิดในรอบ 2-3 และ 5-6 ปีen_US
dc.language.isoThaien_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. คณะวิศวกรรมศาสตร์en_US
dc.subjectน้ำฝน -- การวัดen_US
dc.subjectฝนen_US
dc.titleการวิเคราะห์ความถี่และแนวโน้มของฝนสูงสุดในจังหวัดแม่ฮ่องสอนen_US
dc.typeArticleen_US
Appears in Collections:บทความ (Article - EN)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Y.05 Vol.9 p.12-19 2550.pdfการวิเคราะห์ความถี่และแนวโน้มของฝนสูงสุดในจังหวัดแม่ฮ่องสอน1.49 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.