Please use this identifier to cite or link to this item: http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/1414
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorสาทิตย์ สีนิลพันธ์
dc.contributor.authorณฐา คุปตัษเฐียร
dc.date.accessioned2014-02-24T04:45:31Z
dc.date.accessioned2020-09-24T04:33:13Z-
dc.date.available2014-02-24T04:45:31Z
dc.date.available2020-09-24T04:33:13Z-
dc.date.issued2554
dc.identifier.issn1685-5280
dc.identifier.urihttp://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/handle/123456789/1414-
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อลดความสูญเปล่าในสายการผลิตชิ้นส่วนฝาครอบเครื่องจักรยานยนต์ โดยจัดสมดุลสาบการผลิตและลดงานที่ไม่ก่อให้เกิดมูลค่าเพิ่ม (Non-value Added) ต่อตัวผลิตภัณฑ์ อาทิเช่น ความสูญเปล่าการเคลื่อนไหวที่ไม่จำเป็น (Motion Loss) การเคลื่อนไหวที่เกินจำเป็น (Excess Motion) ความสูญเปล่าเนื่องจากงานเสีย (Defect) เป็นต้น ซึ่งสาเหตุที่กล่าวมานี้ทำให้โรงงานตัวอย่างมีต้นทุ่นการผลิตสูงขึ้นเนื่องจากชั่วโมงงานที่เพิ่มขึ้นเนื่องจากชั่วโมงที่เพิ่มมากขึ้นงานวิจัยชิ้นนี้มุ่งเน้นการแก้ไขปัญหาโดยวิธีการบูรณาการเทคนิคทางวิศวกรรมอุตสาหการ ผลจากการปรับปรุงสายการผลิต ชิ้นส่วนฝาครอบเครื่องรถจักรยานยนต์ พบว่ารอบเวลาการผลิต (Cycle Time) ของผลิตภัณฑ์ลดลงจาก 318.32 วินาทีต่อชิ้นเหลือ 278.07 วินาทีต่อชิ้น คิดเป็น 12.64% จำนวนพนักงานในสายการผลิตลดลงจาก 10 คนเหลือ 8 คนคิดเป็น 20% ในด้านเครื่องมือและเครื่องจักรสามารถเพิ่มความเร็วรอบของเครื่องจักรจาก 6,500 rpm เพิ่มเป็น 7,500 rpm และลดจำนวนใบมีดต่อเครื่องมือตัดI(FaceMilling) จาก 6 ใบเหลือ 4 ใบ ดัชนีชี้วัดความสามารถของกระบวนการเพิ่มขึ้นจาก 1.14 เป็น 1.41 คิดเป็น 19.48%en_US
dc.description.abstractThe purpose of this research was to reduce wastes in motorcycle engine cover production line by balancing line and reducing non-value added work such as motion loss, excess motion and defect. These causes led to higher cost production due to longer working hour. The research methodology included integrated IE techniques. The result showed a decrease of cycle time from 318.32 seconds per piece to 278.07 seconds per piece which accounted for 12.68 percent. The number of operators in production line was decreased from 10 persons to 8 persons which equaled 20 percent. For machine and tools, engine speed was able to increase from 6,500 rpm• to 7,500 rpm. The number of blades per cloud be decreased from 6 pieces to 4 pieces. Moreover, the process performance index increased from 1.14 to 1041 which accounted for 19.48 percent
dc.language.isoThaien_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. คณะวิศวกรรมศาสตร์. ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการen_US
dc.relation.ispartofseriesวารสารวิศวกรรมศาสตร์ ราชมงคลธัญบุรี;ปีที่ 9 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม 2554
dc.subjectการจัดสมดุลสายการผลิตen_US
dc.subjectความสูญเปล่าen_US
dc.subjectรอบเวลาการผลิตen_US
dc.subjectความสามารถของกระบวนการen_US
dc.titleการลดความสูญเปล่าในกระบวนการผลิตชิ้นส่วนรถจักรยานยนต์ โดยการบูรณาการเทคนิควิศวกรรมอุสาหกรรมen_US
dc.title.alternativeWastes Reduction in Motorcycle Part Production Line Using Integrated IE Techniquesen_US
dc.typeArticleen_US
Appears in Collections:บทความ (Article - EN)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Y.09 Vol.2 p.31-39 2554.pdfWastes Reduction in Motorcycle Part Production Line Using Integrated IE Techniques1.74 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.