Please use this identifier to cite or link to this item: http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/1433
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorสายฝน บูชา
dc.contributor.authorรุ่งฤดี อภิวัฒนศร
dc.contributor.authorพนมเทียน บุญส่งเสริมสุข
dc.contributor.authorพรทิพย์ สว่างเนตร
dc.date.accessioned2014-02-26T03:16:55Z
dc.date.accessioned2020-09-24T04:56:24Z-
dc.date.available2014-02-26T03:16:55Z
dc.date.available2020-09-24T04:56:24Z-
dc.date.issued2555
dc.identifier.issn1686-8420
dc.identifier.urihttp://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/handle/123456789/1433-
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบทักษะการเรียนรู้สารสนเทศของนักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ในด้านการกำหนดคำค้น การเข้าถึงการใช้จริยธรรมการใช้สารสนเทศและการประเมินสารสนเทศ จำแนกตามเพศ คณะ การศึกษาภาคปกติ ภาคสมทบตามชั้นปีที่ศึกษา รวมทั้งศึกษาปัญหาและอุปสรรคการศึกษาทักษะการเรียนรู้สารสนเทศของนักศึกษา มทร.ธัญบุรี กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือนักศึกษา มทร.ธัญบุรีที่กำลังศึกษาอยู่ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2548 จำนวน 400 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม ผลการวิจัย พบว่าทักษะการเรียนรู้สารสนเทศของนักศึกษา มทร.ธัญบุรี ในด้านการกำหนดคำค้น การเข้าถึง การใช้จริยธรรมและการประเมินสารสนเทศโดนรวมอยู่ในระดับปานกลาง ยกเว้น ด้านการประเมินสารสนเทศโดยรวมอยู่ในระดับมาก ทักษะการเรียนรู้สารสนเทศของนักศึกษา มทร.ธัญบุรี จำแนกตามเพศ ด้านการกำหนดคำค้นการเข้าถึง การใช้จริยธรรมการใช้สารสนเทศโดยรวมไม่แตกต่างกันทางสถิติ ยกเว้น ด้านการประเมินสารสนเทศแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ทักษะการใช้สารสนเทศของนักศึกษามทร.ธัญบุรี จำแนกตามคณะที่ศึกษา ในด้านการกำหนดคำค้นและด้วนจริยธรรมการใช้สารสนเทศโดยรวมไม่แตกต่างกันทางสถิติ ยกเว้น ด้านการเข้าถึงการใช้และการประเมินสารสนเทศโดยรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ทักษะการใช้สารสนเทศของนักษา มทร.ธัญบุรี จำแนกการศึกษาภาคปกติตามชั้นปีที่ศึกษา ในด้านการกำหนดคำค้น ด้านการเข้าถึงด้านจริยธรรมการใช้และด้านการประเมินสารสนเทศโดยรวมไม่แตกต่างกันทางสถิติ ยกเว้น ด้านการใช้สารสนเทศ โดยรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ทักษะการใช้สารสนเทศของนักศึกษา มทร.ธัญบุรีจำแนกการศึกษาภาคสมทบตามชั้นปีที่ศึกษา ในด้านการกำหนดคำค้น ด้านการเข้าถึง การใช้จริยธรรมการใช้และการประเมินสารสนเทศ โดยรวมไม่แตกต่างกัน ปัญหาและอุปสรรคการศึกษาทักษะการใช้สารสนเทศนักศึกษา มทร.ธัญบุรีโดยรวมอยู่ในระดับปานกลางen_US
dc.description.abstractThe purpose of this research was to study RMUTT students' information technology skills in the following five aspects: key words, access to the program, use of the information, morality, and evaluation of the information. Data were collected from 400 second year students, in the second semester of the academic year 2005, using a three-part questionnaire. Data were then analyzed in terms of percentage, mean, standard deviation, and F-test. The results were as follows: The development of the students' IT skills in the five aspects was at a medium level. There was no significant difference between male and female. Similarly. there was no significant difference between students from different fields of study, except the evaluation of information aspect. However, there was significant difference only in the use of information aspect between full-time and part-time students. The overall problems and obstacles of all students were at the medium level.
dc.language.isoThaien_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. คณะศิลปศาสตร์; มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. คณะเทคโนโลยีการเกษตรen_US
dc.relation.ispartofseriesวารสารวิจัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี;ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 เดือนมกราคม-เมษายน 2550
dc.subjectทักษะการเรียนรู้สารสนเทศen_US
dc.subjectสารสนเทศen_US
dc.titleการศึกษาทักษะการรู้สารสนเทศของนักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรีen_US
dc.title.alternativeA Study of RMUTI Students' Information Technology Skillsen_US
dc.typeArticleen_US
Appears in Collections:บทความ (Article)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Y.10 Vol.02-2.pdfA Study of RMUTI Students' Information Technology Skills3.04 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.