Please use this identifier to cite or link to this item: http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/1437
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorอัคครัตย์ พูลกระจ่าง
dc.contributor.authorนพพร เปรมใจ
dc.date.accessioned2014-02-26T03:45:54Z
dc.date.accessioned2020-09-24T04:47:39Z-
dc.date.available2014-02-26T03:45:54Z
dc.date.available2020-09-24T04:47:39Z-
dc.date.issued2550
dc.identifier.issn1686-8420
dc.identifier.urihttp://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/handle/123456789/1437-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อสร้างและหาประสิทธิภาพเครื่องปรับอากาศแบบระเหย ที่ใช้แผ่นซับน้ำต่างกัน 3 ชนิด คือ กระดาษ ผ้า และ ฟองน้ำ โดยทดลองที่ความเร็วอากาศแตกต่างกันทำการออกแบบและสร้างเครื่องปรับอากาศแบบระเหย โดยการทดลองบางออกเป็น 2 ขั้นตอนคือ 1. เพื่อหาความเร็วลมและอัตราการไหลของอากาศ แบบไม่มีน้ำไหลผ่านแผ่นซับน้ำและมีน้ำผ่านแผ่นซับน้ำ 2. ทำการทดลองวัดค่าอุณหภูมิอากาศทั้งทางเข้าและออกโดยมีน้ำผ่านแผ่นซับน้ำ ผลจาการวิจัยพบว่า เครื่องปรับอากาศแบบระเหยสามารถลดอุณหภูมิของอากาศลดลงมากกว่า 2 องศาเซลเซียส แผ่นซับน้ำชนิดกระดาษมีความเร็วอากาศทางออกมีค่าไม่เกิน 5.8 เมตรต่อวินาที และค่าความชื้นสัมพัทธ์โดยเฉลี่ยร้อยละ 92.76 และแผ่นซับน้ำชนิดผ้ามีความเร็วอากาศทางออกมีค่าไม่เกิน 2.8 เมตรต่อวินาที และค่าความชื้นสัมพัทธ์โดยเฉลี่ยร้อยละ 75.63 สำหรับอัตราการระเหยของแผ่นซับน้ำจากกระดาษให้ผลดีที่สุด มีค่าเท่ากับ 2.45 กิโลกรัมต่อชั่วโมงที่ความเร็วอากาศทางออก 4.3 เมตรต่อวินาที ประสิทธิภาพโดยรวมพบว่า แผ่นซับน้ำกระดาษมีประสิทธิภาพร้อยละ 82.29 แผ่นซับน้ำผ้าประสิทธิภาพร้องยะ 51.29 แผ่นซับน้ำฟองน้ำมีประสิทธิภาพร้อยละ 35.08en_US
dc.description.abstractThe objective of this study was to construct an Evaporative Cooling and test its effectiveness, using three different pads: paper, cloth, and sponge. The experiment was carried out at different speeds, starting from designing and constructing the evaporative cooling data were then collected to find the effectiveness of the evaporative cooling. The experiment was two steps: to find the air velocity and air flow rate without water entering the pad and with water, and to measure the temperature inlet and outlet of air in case of having water entering the pad. The results showed that the evaporative cooling could reduce the air temperature more than 2 °C when using paper pad at the outlet velocity of air not exceeding 5.8 m/s and the mean of the relative humidity was 75.63%. For the evaporative rate, paper pad had the highest performance and the greatest value of 2.45 kg/h at the outlet air velocity 4.3 m/s. The effectiveness of the evaporative cooling was as follows: The effectiveness of the paper pad, the cloth pad and the sponge pad was 82.29%, 51.29% and 35.08% respectively.
dc.language.isoThaien_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรีen_US
dc.relation.ispartofseriesวารสารวิจัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี;ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 เดือนมกราคม-เมษายน 2550
dc.subjectประสิทธิภาพen_US
dc.subjectการปรับอากาศแบบระเหยen_US
dc.titleการสร้างและทดสอบประสิทธิภาพเครื่องปรับอากาศแบบระเหยen_US
dc.title.alternativeConstruction of an Evaporative Cooling and Testing of Its Efficiencyen_US
dc.typeArticleen_US
Appears in Collections:บทความ (Article-TECHED)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Y.10 Vol.02-4.pdfConstruction of an Evaporative Cooling and Testing of Its Efficiency3.48 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.