Please use this identifier to cite or link to this item: http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/1593
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorบัณฑิต ฤทธิ์ทอง
dc.contributor.authorฉัตรชัย ศุภพิทักษ์สกุล
dc.date.accessioned2014-05-02T02:45:50Z
dc.date.accessioned2020-09-24T04:34:26Z-
dc.date.available2014-05-02T02:45:50Z
dc.date.available2020-09-24T04:34:26Z-
dc.date.issued2552
dc.identifier.issn1685-5280
dc.identifier.urihttp://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/handle/123456789/1593-
dc.descriptionวารสารวิศวกรรมศาสตร์ ราชมงคลธัญบุรี ปีที่ 7 ฉบับที่ 1-2 เดือนมกราคม – ธันวาคม 2552en_US
dc.description.abstractบทความนี้นำเสนอวิธีการออกแบบระบบไฟฟ้าสำหรับอาคารชุด โดยใช้โครงข่ายประสาทเทียมในการหาข้อมูลอุปกรณ์ไฟฟ้าเพื่อช่วยในการวางแผน และประเมินราคาการติดตั้งระบบไฟฟ้า โดยใช้ตัวแปรที่ต้องการออกแบบเป็นตัวป้อนเข้าหรืออินพุต ซึ่งได้แก่ ประเภทห้องชุด ขนาดพื้นที่ห้องชุด (20-100 ตารางเมตร) ระบบทำความเย็นจากส่วนกลาง ชนิดของระบบไฟฟ้า (1 เฟส หรือ 3 เฟส) โดยคิดที่ห้องชุด 1 ห้อง และส่วนเอาท์พุท หรือคำตอบที่ต้องการได้แก่ ขนาดเครื่องวัดหน่วยไฟฟ้า ขนาดเซอร์กิตเบรกเกอร์ ขนาดสายเฟส ขนาดสายดิน ขนาดท่อโลหะ ระยะทางการเดินสาย โดยนำตัวแปรดังกล่าวมาใช้ในการฝึกสอนโครงข่ายประสาทเทียม ซึ่งข้อมูลที่ใช้ได้มาจากการคำนวณตามมาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสำหรับประเทศไทย จากผลการทดสอบวิธีที่นำเสนอสามารถหาคำตอบได้อย่างรวดเร็วแม้ผู้ใช้ไม่มีความชำนาญในการออกแบบ ซึ่งผลที่ได้อยู่ในระดับที่น่าพอใจen_US
dc.description.abstractThis paper proposes a novel technique for designing the electrical system of buildings using an Artificial Neural Network (ANN). The ANN is employed as a classifier for searching the data of the required electrical equipments in the data base which can help in saving time for estimating budget and planning for the electrical system installation. The data that obtained from the calculation according to the Electrical Installation Standard of Thailand are used as ANN training and testing sets. The data for an apartment as follows: types of the apartment, the apartment area (20-100 m2), air-condition system, electrical system (1 or 3 phase) are used as inputs of the ANN. The size of meter, circuit breaker, dimension of phase conductors, grounding conductors, metal conduits and the length of conductors are employed as output of the ANN. The satisfactory results were provided with a short time consuming although it was used by a new designer.en_US
dc.language.isoThaien_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. คณะวิศวกรรมศาสตร์en_US
dc.subjectโครงข่ายประสาทเทียมชนิดแพร่ค่าย้อนกลับen_US
dc.subjectการออกแบบระบบไฟฟ้าสำหรับอาคารชุดen_US
dc.titleการใช้โครงข่ายประสาทเทียมในการออกแบบระบบไฟฟ้าสำหรับอาคารชุดen_US
dc.title.alternativeUsing Artificial Neural Networks for Designing of Electrical System for Buildingsen_US
dc.typeArticleen_US
Appears in Collections:บทความ (Article - EN)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Y.07 Vol.1-2 p.12-21 2552.pdfการใช้โครงข่ายประสาทเทียมในการออกแบบระบบไฟฟ้าสำหรับอาคารชุด683.88 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.