Please use this identifier to cite or link to this item: http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/1698
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorประชุม คำพุฒ
dc.date.accessioned2014-05-30T06:05:27Z
dc.date.accessioned2020-09-24T04:34:10Z-
dc.date.available2014-05-30T06:05:27Z
dc.date.available2020-09-24T04:34:10Z-
dc.date.issued2549
dc.identifier.issn1685-5280
dc.identifier.urihttp://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/handle/123456789/1698-
dc.descriptionวารสารวิศวกรรมศาสตร์ ราชมงคลธัญบุรี. ปีที่ 4, ฉบับที่ 8 (ก.ค. – ธ.ค. 2549), หน้า 10-17en_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิธีการใช้ประโยชน์จากแท่งตัวอย่างคอนกรีตทดสอบทั้งแบบรูปทรงกระบอกและทรงลูกบาศก์ ที่ผ่านการทดสอบกำลังอัดแล้ว พบว่าสามารถนำแท่งตัวอย่างคอนกรีตไปใช้ประโยชน์ได้โดยแบ่งเป็น 2 ลักษณะใหญ่ๆ คือ ทางตรงซึ่งไม่ผ่านการบดย่อย เช่น การนำไปใช้ถมที่ดิน ใช้ป้องการชะล้างหน้าดิน ใช้เป็นที่ปลูกต้นไม้ ใช้เป็นองค์ประกอบในการจัดสวน และใช้เป็นขอลบทางในงานจราจร เป็นต้น และทางอ้อมซึ่งผ่านการบดย่อยก่อนนำมาใช้ผสมเป็นมวลรวมหยาบในงานคอนกรีตทั่วไปที่ไม่ต้องการกำลังอัดมากนัก โดยทำการย่อยแท่งตัวอย่างคอนกรีตแล้วร่อนผ่านตะแกรงตามมาตรฐาน ASTM C 136 ให้มีขนาดเท่ากับหิน ทดสอบหาค่าการดูดซึมน้ำเฉลี่ยได้เท่ากับร้อยละ 4.59 มีค่าความถ่วงจำเพาะเท่ากับ 1.97 นำมาออกแบบอัตราส่วนผสมปูนซีเมนต์: ทราย: เศษคอนกรีตย่อย เท่ากับ 1: 2: 4 โดยน้ำหนัก หล่อนตัวอย่างสี่เหลี่ยมลูกบาศก์ขนาด 15 x 15 x 15 ลบ.ซม. ตามมาตรฐาน BS 1881 ใช้อัตราส่วนน้ำต่อซีเมนต์เท่ากับ 0.45, 0.50 และ 0.55 ได้ค่าหน่วยน้ำหนักโดยเฉลี่ยเท่ากับ 2222, 2242 และ 2261 กก./ลบ.ม. ตามลำดับ ได้กำลังอัดโดยเฉลี่ยที่อายุ 28 วัน เท่ากับ 357, 346 และ 331 กก./ตร.ซม. โดยที่ค่ากำลังอัดของคอนกรีตปกติ (ผสมหิน) เท่ากับ 389, 380 และ 372 กก./ตร.ซม. ตามลำดับ แสดงว่าสามารถนำแท่งตัวอย่างคอนกรีตที่ผ่านการทดสอบแล้วมาใช้ประโยชน์ได้ดีทั้ง 2 ลักษณะen_US
dc.description.abstractThis research is to study the utilizing of recycled concrete specimens in both forms of cylindrical and cubic. There are 2 means of advantage: direct mean (the concrete does not pass the process of crushing) such as covering the soil surface for protect the soil surface. planted the trees. organize the garden and use for roadside in the traffic. indirect mean (the concrete pass the process of crushing), the concrete is reused as coarse aggregate instead of rock in concrete for the parts of building which do not require high compressive strength of concrete. The sieve analysis according with ASTM C 136 is performed to have the same size standard as coarse aggregate in concrete. After testing. the properties of the recycled concrete were found; the average absorption = 4.59%. the specific gravity = 1.97, design the mixed ratio cement: sand: recycled concrete = I : 2: 4 by weight. Then making an examination by casting a cube sizing of 15 x 15 x 15 cu.crn. followed the BS 1881 standard and using water cement ratio = 0.45. 0.50 and 0.55 . The result showed the average bulk unit weight is 2222 . 2242 and 2261 kg/cu.m respectively and the average compressive strength at 28 days = 357. 346 and 33 1 ksc. The compressive strength of normal concrete (mixed with rock) = 389. 380 and 372 ksc respectively. This research showed that recycled concrete could be well utilized in both means (direct and indirect means ).en_US
dc.language.isoThaien_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. คณะวิศวกรรมศาสตร์en_US
dc.subjectคอนกรีตen_US
dc.subjectคอนกรีต -- การทดสอบen_US
dc.titleการศึกษาการนำแท่งตัวอย่างคอนกรีตที่ผ่านการทดสอบแล้วมาใช้ประโยชน์en_US
dc.title.alternativeA Study of Utilizing of Recycled Concrete Specimensen_US
dc.typeArticleen_US
Appears in Collections:บทความ (Article - EN)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Journal of Engineering Y.04 Vol.8 p.10-17 2549.pdfการศึกษาการนำแท่งตัวอย่างคอนกรีตที่ผ่านการทดสอบแล้วมาใช้ประโยชน์3.64 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.