Please use this identifier to cite or link to this item: http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/1724
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorวลัยพร เหมโส
dc.contributor.authorระพี กาญจนะ
dc.date.accessioned2014-07-02T08:06:26Z
dc.date.accessioned2020-09-24T04:33:39Z-
dc.date.available2014-07-02T08:06:26Z
dc.date.available2020-09-24T04:33:39Z-
dc.date.issued2556
dc.identifier.issn1685-5280
dc.identifier.urihttp://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/handle/123456789/1724-
dc.descriptionวารสารวิศวกรรมศาสตร์ ราชมงคลธัญบุรี. ปีที่ 11, ฉบับที่ 2 (ก.ค. – ธ.ค. 2556), หน้า 33-46en_US
dc.description.abstractงานวิจัยฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อลดปริมาณของเสียที่เกิดขึ้นในกระบวนการผลิตผ้าเบรกรถยนต์ โดยประยุกต์ใช้หลักการ DMAIC ของ ซิกส์ ซิกม่า โดยมุ่งหวังที่จะลดปริมาณของเสียอันเกิดจากปัญหาชิ้นงานร้าวลงร้อยละ 30 ตามนโยบายของบริษัทตัวอย่าง กระบวนการที่เลือกมาศึกษาคือกระบวนการขึ้นรูปชิ้นงานร้อนของผ้าเบรก โมเดล X068 โดยการควบคุมค่าการอัดตัวของชิ้นงาน (Compression) อยู่ที่ระหว่าง 50-100 ไมครอน จะทำให้ระบบการวัดดังกล่าวมีความถูกต้องและความแม่นยำสูงขึ้น โดยขั้นตอนการศึกษาทั้งหมดแบ่งเป็น 5 ขั้นตอน ดังนี้ (1) ขั้นตอนการกำหนดปัญหาที่เกิดขึ้น (Define Phase) โดยได้ทำการศึกษาความสามารถของกระบวนการผลิตผ้าเบรกรถยนต์ (Process Capability Index) (2) ขั้นตอนการวัด (Measure Phase) เพื่อกำหนดหาสาเหตุของปัญหา (3) ขั้นตอนการวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา (Analysis Phase) โดยการวิเคราะห์ทีละสาเหตุทีละปัจจัย (One Factorata Time) (4) ขั้นตอนการปรับปรุงแก้ไขกระบวนการ (Improve Phase) โดยทำการออกแบบการทดลอง (Design of Experiments) แบบ 2[subscript k] Full Factorial เพื่อหาความสัมพันธ์และหาค่าที่เหมาะสมที่สุดของแต่ละปัจจัย และ (5) ขั้นตอนการควบคุมตัวแปรต่างๆ (Control Phase) ได้นำวิธีการทางสถิติ (Statistical Process Control: SPC) มาช่วยในการควบคุมกระบวนการผลิตหลังการปรับปรุงกระบวนการผลิตตามหลักการ DMAIC ของซิกส์ซิกม่าทำให้พบว่าจำนวนของเสียที่เกิดจากชิ้นงานร้าว (Pad Crack) ที่เกิดขึ้นจากกระบวนการผลิตขึ้นรูปร้อน ลดลงจากเดิมร้อยละ 60.37 หรือ 40,461 PPM เหลือเพียงร้อยละ 39.87 ของปริมาณของเสียทั้งหมด หรือคิดเป็น 17,090 PPM ดังนั้นการปรับปรุงครั้งนี้สามารถลดปริมาณของเสียได้ร้อยละ 36.75 ซึ่งตรงกับเป้าหมายของบริษัทที่วางเอาไว้ที่ร้อยละ 30.00en_US
dc.description.abstractThis research aims to reduce the amount of defects generated within the process of brake pad production by using DMAIC method stage of Six Sigma. According to the case study company's target, the amount of defects caused by pad crack problem should be decreased by 30%. The cure pressing process of disc brake pad model X068 production is selected for this study. In order to accuracy and precision measurement system, the specification of disc brake pad is controlled with the compression value ranging from 50 - I00 micron. The research methodology consists of 5 steps: ( 1) Define phase, the process capability index of disc brake pad production is evaluated, (2) Measure phase, the root causes of problem are determined. (3) Analysis phase, each one factor is analyzed. (4) Improve phase, the design of experiments (DOE) with 2[subscript k] Full Factorial is used to investigate the relationship and the optimal value of each factor. and (5) Control phase. the statistical process control (SPC) is applied to control the process. After improvement by implementing the DMAIC method. it found that the scrap rate is reduced from 60.37%(40.46 1 PPM) to 39 .R7%( 17,090 PPM) of al l defect rate or about 17,090 PPM. Thus, with this improvement the amount of defects can be reduced by 36.75% of company policy.en_US
dc.language.isoThaien_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. คณะวิศวกรรมศาสตร์en_US
dc.subjectรถยนต์ -- การผลิตen_US
dc.subjectอุตสาหกรรมรถยนต์en_US
dc.subjectผ้าเบรกรถยนต์en_US
dc.titleการลดของเสียจากกระบวนการผลิตผ้าเบรกรถยนต์โดยประยุกต์ใช้วิธีการ DMAICen_US
dc.title.alternativeDefect reduction from brake pads product ion by using DMAIC methoden_US
dc.typeArticleen_US
Appears in Collections:บทความ (Article - EN)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Journal of Engineering Y.11 Vol.2 p.33-46 2556.pdfการลดของเสียจากกระบวนการผลิตผ้าเบรกรถยนต์โดยประยุกต์ใช้วิธีการ DMAIC4.5 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.