Please use this identifier to cite or link to this item:
http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/2003
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | รีบเก็บเงิน | |
dc.date.accessioned | 2014-11-24T06:41:26Z | |
dc.date.accessioned | 2020-09-24T04:48:18Z | - |
dc.date.available | 2014-11-24T06:41:26Z | |
dc.date.available | 2020-09-24T04:48:18Z | - |
dc.date.issued | 2556 | |
dc.identifier.uri | http://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/handle/123456789/2003 | - |
dc.description.abstract | การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อพัฒนาบทเรียนมัลติมีเดียบนแท็บเล็ตระบบปฏิบัติการ iOS ที่ส่งผลต่อความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร์ให้มีประสิทธิภาพตามที่กำหนด 80/80 2) เพื่อศึกษาความก้าวหน้าของผลการเรียนด้านความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร์บนแท็บเล็ตระบบปฏิบัติการ iOS สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ก่อนเรียนและหลังเรียน และ 3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจต่อการเรียนวิชาความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร์บนแท็บเล็ตระบบปฏิบัติการiOS ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 กลุ่มตัวอย่างในการวิจัย คือนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ของสถาบันคลินิคการศึกษา KID KID จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จำนวน 42 คน ได้มาโดยการสุ่มอย่างง่ายทำการทดลองในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556โดยการเรียนด้วยบทเรียนมัลติมีเดียวิชาความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร์เก็บข้อมูลโดยการใช้แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและแบบสอบถามความพึงพอใจการเรียนรู้ด้วยบทเรียนมัลติมีเดียการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้คอมพิวเตอร์โปรแกรมสำเร็จรูปเพื่อหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าดัชนีประสิทธิผล และการทดสอบค่า t-test ผลการวิจัยพบว่า 1) นักเรียนมีผลการเรียนรู้บทเรียนมัลติมีเดียบนแท็บเล็ตระบบปฏิบัติการ iOS ประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/802)นักเรียนมีผลการเรียนรู้ด้วยบทเรียนมัลติมีเดียบนแท็บเล็ตระบบปฏิบัติการ iOS หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05 และ 3) นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการเรียนรู้ด้วยบทเรียนมัลติมีเดียบนแท็บเล็ตระบบปฏิบัติการiOSในระดับดี | en_US |
dc.description.abstract | The purposes of the research are: 1) to develop the multimedia lesson towards arts aptitude on tablet with iOS system for mattayomsuksa 6 students to reach criterion of 80/80, 2) to study the achievement of students before and after learning on tablet with iOS system for matthayomsuksa 6 students and 3) to study the satisfaction of matthayomsuksa 6 students from arts aptitude's learning on tablet with iOS system. The representative sample of this study by using simple ramdom were 42 students in matthayomsuksa 6 from the educational clinic institute KID KID in Ayudhaya province. After learning the multimedia lesson of the arts aptitude on tablet with iOS systemin the first semester in academic year 2013, the data was collectedby achievement test and learning's satisfaction with multimedia questionnaire.Computer program to find percentage, average, standard deviation, effectiveness index and t-test were used to analysis the data. The results showed that 1) the students had the learning outcome of multimedia lesson on tablet with iOS system along with the 80/80 standard, 2) the learning outcome of multimedia lesson on tablet with iOS system after learning was significantly higher at the0.05 level and 3) the students’ satisfaction towards learning with electronic book on tablet with iOS system was in a good level. | en_US |
dc.language.iso | Thai | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม. สาขาวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา | en_US |
dc.subject | บทเรียนมัลติมีเดีย | en_US |
dc.subject | แท็บแล็ตระบบปฏิบัติการ IOS | en_US |
dc.title | การพัฒนาบทเรียนมัลติมีเดียบนแท็บเล็ตระบบปฏิบัติการ iOS วิชาความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร์สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 6 | en_US |
dc.title.alternative | Development of a Multimedia Lesson of Fine and Applied Arts Professional and Academic Aptitude Test on Tablet with iOS System For Matthayomsuksa 6 Students | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
Appears in Collections: | วิทยานิพนธ์ (Thesis-TECHED) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
139306.pdf | การพัฒนาบทเรียนมัลติมีเดียบนแท็บเล็ตระบบปฏิบัติการ iOS วิชาความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร์สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 6 | 12.1 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.