Please use this identifier to cite or link to this item: http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/2025
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorศราวุธ จตุรบูรณ์
dc.contributor.authorณฐา คุปตัษเฐียร
dc.date.accessioned2014-11-26T03:25:33Z
dc.date.accessioned2020-09-24T04:34:12Z-
dc.date.available2014-11-26T03:25:33Z
dc.date.available2020-09-24T04:34:12Z-
dc.date.issued2557
dc.identifier.issn1685-5280
dc.identifier.urihttp://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/handle/123456789/2025-
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความเป็นไปได้ในการผลิตไฟฟ้าด้วยพลังงานทดแทนให้แก่ชุมสายหลักโทรศัพท์พื้นฐานทุ่งสองห้องของบริษัท ทรู คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) ด้วยเหตุนี้จึงทำให้เกิดแนวคิดที่จะนำหลักการศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการเข้ามาประยุกต์ใช้วิเคราะห์ความคุ้มค่าเหมาะสมของระบบผลิตพลังงานไฟฟ้าด้วยพลังงานทดแทน ขั้นตอนการดำเนินงานเริ่มจากการสร้างแบบจำลองระบบผลิตไฟฟ้าด้วยเซลล์แสงอาทิตย์ ระบบผลิตไฟฟ้าด้วยกังหันลม และระบบผลิตไฟฟ้าแบบผสมผสานด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ HOMER เพื่อเปรียบเทียบปริมาณไฟฟ้าที่ได้จากระบบ จากนั้นจึงวิเคราะห์ทางด้านเศรษฐศาสตร์การเงินที่ประกอบด้วย อัตราส่วนผลประโยชน์ต่อเงินลงทุน ระยะเวลาการคืนทุน อัตราผลตอบแทนภายในและมูลค่าปัจจุบันสุทธิ ผลการวิจัยพบว่าระบบผลิตไฟฟ้าด้วยกังหันลมมีความเป็นไปได้ในการลงทุนมากที่สุดเนื่องจากมีอัตราส่วนผลประโยชน์ต่อเงินลงทุนมากที่สุดเท่ากับ 1.12 ระยะเวลาการคืนทุนเร็วที่สุดเท่ากับ 11 ปี อัตราผลตอบแทนในมากที่สุดเท่ากับ 7.26% และมูลค่าปัจจุบันสุทธิมีกำไรมากที่สุดเท่ากับ 9,424.40 บาทen_US
dc.description.abstractThis research aims to feasibility study undertaken to investigate renewable energy systems for the main telephone fixed-line exchange unit at case study for True Corporation (Public) Limited Company. Therefore, the project feasibility study was implemented to analysis of a renewable energy electric system. The solar (PV cell) system, wind turbine system and hybrid systems have been compared, using HOMER software in term of electricity generating which is the technical analysis. Then, the financial analysis is done by calculation of the benefit-cost into : BCR, the simple payback period : SPP, the internal rate of return : IRR and the net present value : NPV. The results showed that the wind-turbine technology is the most feasible regarding the benefit-cost ratio for 1.12, the shortest payback period in 11 years, the internal rate of return at 7.26%and positive net present value of 9,424.40 baht.
dc.language.isoThaien_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. คณะวิศวกรรมศาสตร์en_US
dc.subjectการศึกษาความเป็นไปได้en_US
dc.subjectพลังงานทดแทนen_US
dc.subjectโปรแกรมคอมพิวเตอร์en_US
dc.subjectHOMERen_US
dc.titleการศึกษาความเป็นไปได้ในการใช้พลังงานทดแทน : กรณีศึกษาชุมสายหลักโทรศัพท์พื้นฐานในประเทศไทยen_US
dc.title.alternativeRenewable Energy Feasibility Study : Case Study For a Main Telephone Fixed-Line Exchange Unit in Thailanden_US
dc.typeArticleen_US
Appears in Collections:บทความ (Article - EN)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Journal of Engineering Y.12 Vol.1 p.55-62 2557.pdfการศึกษาความเป็นไปได้ในการใช้พลังงานทดแทน : กรณีศึกษาชุมสายหลักโทรศัพท์พื้นฐานในประเทศไทย480.02 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.