Please use this identifier to cite or link to this item: http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/2069
Title: ภาพล้อและการ์ตูนการเมืองในสังคมไทย พ.ศ. 2465-2475
Other Titles: Caricatures and political Cartoons in Siam 1922-1932
Authors: ฉัตรบงกช ศรีวัฒนสาร
Keywords: ภาพล้อและการ์ตูนการเมือง
ปัญญาชน
Caricatures and political Cartoons
egghead
Issue Date: 2557
Publisher: สถาบันพระปกเกล้า. พิพิธภัณฑ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว
Abstract: ภาพล้อและการ์ตูนการเมืองในสังคมไทย ตั้งแต่ พ.ศ. 2465 ปลายรัชสมัยรัชกาลที่ 6 ต่อเนื่องกับรัชกาลที่ 7 ซึ่งนับเป็นยุคแรกๆที่มีการตีพิมพ์ภาพล้อและการ์ตูนการเมืองรวมถึงบทความวิจารณ์การเมืองในหนังสือพิมพ์ไทย โดยจำกัดเฉพาะเรื่องการเปลี่ยนแปลงการปกครอง เพื่อแสวงหาความเข้าใจเกี่ยวกับปัญหาทางการเมืองเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และความขัดแย้งทางความคิดระหว่างผู้ปกครองกับปัญญาชน ผ่านภาพล้อและการ์ตูนการเมืองในหนังสือพิมพ์บางกอกการเมืองและสยามรีวิวรายสัปดาห์ และในช่วง 10 ปีก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2465 ภาพล้อและการ์ตูนการเมืองถูกตีพิมพ์ในหนังสือพิมพ์อย่างหลายหลากและต่อเนื่อง ภาพล้อและการ์ตูนการเมืองจึงได้เป็นตัวแทนของการแสดงความคิดเห็นทางการเมืองของประชาชนในลักษณะการยกประเด็นและจุดประกายการถกเถียงทางการเมืองเศรษฐกิจและสังคมโดยการวิพากษ์วิจารณ์ผู้ปกครอง เปิดโปงการทุจริตของขุนนาง ข้าราชการ และเรียกร้องการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองอย่างชัดเจน อันเป็นที่มาของการตราพระราชบัญญัติควบคุมหนังสือพิมพ์ พ.ศ. 2465
The study caricatures and political cartoons, and also political commentaries, that began to be published in various newspaper in Siam during the lately period of King Vajiravudh’s Reign through the Reign of King Prajadhipok But only up to the 1932 coup, to arrive at an understanding of the political, economic, social and cultural issues then current and also the differences in ideas between the rulers and the intellectuals whom the artists and cartoonists represented. Emphasis was placed on Bangkok Karnmuang and Siam Review Rai Saphada. In the 10 years prior to the coup / revolution. Caricatures and political cartoons were continuously published and were diverse. They claimed to represent public opinion by raising political, economic and social issues so as to catalyze public discussion. They did so by satirically criticizing the rulers, exposing. Uncovering corruption and also demanding political change, explicitly purity and boldly. They thus partly prompted the Act press to be proclaimed in to Law the Press control Act 1922.
URI: http://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/handle/123456789/2069
Appears in Collections:บทความ (Article - FA)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
วารสารศิลปกรรมศาสตร์วิชาการ วิจัย และงานสร้างสรรค์ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ม.ค.-มิ.ย. 25....pdfภาพล้อและการ์ตูนการเมืองในสังคมไทย พ.ศ. 2465-2475822.74 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.