Please use this identifier to cite or link to this item: http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/2089
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorพจน์ธรรม ณรงค์วิทย์
dc.date.accessioned2015-01-14T03:48:18Z
dc.date.accessioned2020-09-24T04:39:02Z-
dc.date.available2015-01-14T03:48:18Z
dc.date.available2020-09-24T04:39:02Z-
dc.date.issued2557
dc.identifier.issn2351-0285
dc.identifier.urihttp://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/handle/123456789/2089-
dc.description.abstractการออกแบบและพัฒนากระเป๋าอุปกรณ์แพทย์และเวชภัณฑ์ภาคสนามมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาแนวทางในการออกแบบกระเป๋าอุปกรณ์แพทย์และเวชภัณฑ์สำหรับใช้ในภาคสนาม 2) เพื่อออกแบบและพัฒนากระเป๋าอุปกรณ์แพทย์และเวชภัณฑ์สำหรับใช้ในภาคสนาม 3) เพื่อประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้ผลิตภัณฑ์กระเป๋าอุปกรณ์แพทย์และเวชภัณฑ์สำหรับใช้ในภาคสนามวิธีดำเนินการวิจัย ประกอบด้วยการเก็บรวบรวมเอกสารและข้อมูลที่เกี่ยวข้องโดยนำข้อมูลที่ได้จากการสอบถามและการสังเกตมาทำการวิเคราะห์ เกี่ยวกับลักษณะการใช้งาน ความต้องการของบุคลากรทางการแพทย์และพยาบาลในการใช้งานกระเป๋าด้วยค่าสถิติร้อยละ กลุ่มประชากรคือ บุคลากรแพทย์-พยาบาลในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลจำนวน 28 คน และนำข้อมูลเบื้องต้นที่ได้ทำการรวบรวมไว้มาวิเคราะห์ด้วยตารางปฏิสัมพันธ์ เพื่อพิจารณาเปรียบเทียบวัสดุที่จะนำมาผลิต และรูปแบบแนวคิดของการออกแบบ ผลการวิจัยพบว่า การออกแบบและพัฒนากระเป๋าอุปกรณ์แพทย์และเวชภัณฑ์ภาคสนาม ควรคำนึงถึงวัสดุและการทำหน้าที่ด้านประโยชน์ใช้สอยของกระเป๋า ซึ่งวัสดุประเภทหนังเทียมบุฟองน้ำเป็นวัสดุที่มีความเหมาะสมในการนำมาทำกระเป๋า เพื่อให้กระเป๋ามีคุณสมบัติเบา กันน้ำยืดหยุ่น และซักล้างทำความสะอาดง่าย ส่วนวัสดุในการทำกล่องบรรจุภัณฑ์อุปกรณ์ภายในกระเป๋า เลือกใช้วัสดุพลาสติก เพราะมีน้ำหนักเบา ทำความสะอาดง่าย และป้องกันแรงกระแทกได้ดี และการกำหนดขนาดของกระเป๋าใช้วิธีจำลองการจัดเรียงอุปกรณ์แพทย์และเวชภัณฑ์ภายในกระเป๋า เพื่อให้ได้ขนาดที่เหมาะสมในการจัดเก็บอุปกรณ์en_US
dc.description.abstractDesign and development of pharmaceutical and medical bags field for ministry of Public Health hospital district. Aims to 1) To study the design of medical devices and medical bags for the medical district. use in the field, 2) To design and develop a medical device and medical bags for the medical district for use in the field, 3) To assess the satisfaction of the users devices bags and medical for the field. Methods thesis research, Consists of a collected of documents and relevant information and data. The information obtained from inquiries and observated were analyzed, About usage and need of doctors and nurses in the bags. By using a population Health- Health care in the hospital district 28 people Preliminary data that were collected and analyzed to determined the interaction with the grid. The data were analyzed according to the materials to be used to produce. The conceptual of the design. The finding and conclusions. Materials used in making bags, leather lining cushions the bags features a lightweight, flexible, waterproof, easy to clean and wash. Box inside a plastic bag material that is lightweight, easy to clean and better protection against impact. Usage of the pocket sized devices to simulated the sort of medicine and medical supplies in order to get the right size bags for storage.
dc.language.isoThaien_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร. คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม. สาขาออกแบบผลิตภัณฑ์en_US
dc.subjectการพัฒนากระเป๋าen_US
dc.subjectอุปกรณ์แพทย์และเวชภัณฑ์en_US
dc.subjectโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลen_US
dc.subjectBag developmenten_US
dc.subjectMedical supplieen_US
dc.subjectHospital Health Promotionen_US
dc.titleการออกแบบและพัฒนากระเป๋าอุปกรณ์แพทย์และเวชภัณฑ์ภาคสนามen_US
dc.title.alternativeDesign and development of pharmaceuticals and medical bagsen_US
dc.typeArticleen_US
Appears in Collections:บทความ (Article - FA)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
วารสารศิลปกรรมศาสตร์วิชาการ วิจัย และงานสร้างสรรค์ ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 ก.ค.-ธ.ค. 255....pdfการออกแบบและพัฒนากระเป๋าอุปกรณ์แพทย์และเวชภัณฑ์ภาคสนาม660.7 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.