Please use this identifier to cite or link to this item: http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/2339
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorแสงเดือน วนิชดำรงศักดิ์
dc.contributor.authorอภิรดา สุทธิสานนท์
dc.date.accessioned2015-07-29T06:43:15Z
dc.date.accessioned2020-09-24T07:36:11Z-
dc.date.available2015-07-29T06:43:15Z
dc.date.available2020-09-24T07:36:11Z-
dc.date.issued2556
dc.identifier.urihttp://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/handle/123456789/2339-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาข้อมูลทั่วไปของผู้ใช้บริการธนาคารเกียรตินาคิน สาขากรุงเทพมหานครและปริมณฑลที่มีผลต่อการรับรู้ภาพลักษณ์และคุณภาพบริการ และศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาพลักษณ์และคุณภาพบริการของธนาคาร กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ใช้บริการธนาคารเกียรตินาคิน สาขากรุงเทพมหานครและปริมณฑล จำนวน 400 ตัวอย่าง สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ สถิติเชิงพรรณนา ประกอบด้วย ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมานประกอบด้วย Independent Samples t-test, One-way ANOVA,LSD, และ Pearson Product Moment Correlation Coefficient ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05 ผลการศึกษาพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีการรับรู้ภาพลักษณ์ในภาพรวม และด้านองค์การ ด้านพนักงาน ด้านการบริการ และด้านความรับผิดชอบต่อสังคมอยู่ในระดับมาก ส่วนคุณภาพบริการในภาพรวม และด้านสิ่งที่สัมผัสได้ ด้านความเชื่อถือและไว้วางใจได้ ด้านการตอบสนองความต้องการของลูกค้า ด้านการรับประกันและด้านการให้ความสำคัญกับลูกค้าอยู่ในระดับมาก ผลการทดสอบสมมติฐานพบว่า ประเภทการใช้บริการแตกต่างกัน มีผลต่อการรับรู้ภาพลักษณ์ด้านความรับผิดชอบต่อสังคม และประเภทการใช้บริการแตกต่างกัน มีผลต่อการรับรู้คุณภาพบริการในภาพรวมและด้านความเชื่อถือและไว้วางใจได้ ด้านการตอบสนองความต้องการของลูกค้า ด้านการรับประกัน และด้านการให้ความสำคัญกับลูกค้า และพบว่าความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ภาพลักษณ์ กับ การรับรู้คุณภาพบริการมีความสัมพันธ์ไปในทิศทางเดียวกันในระดับค่อนข้างสูงen_US
dc.description.abstractThe objectives of the study were to look into the general data of the service users of Kiatnakin Bank at the bank branches in Bangkok Metropolitan Region that affected the perception of image and the banking service quality, and to investigate the relationship between the image and the banking service quality. The sample of the study consisted of 400 service users at the bank branches in Bangkok Metropolitan Region. The data were analyzed through descriptive statistics comprising Percentage, Means, Standard Deviation, as well as inferential statistics including Independent Samples t-test, One-way ANOVA, LSD, and Pearson Product Moment Correlation Coefficient at 0.05 level of significance. The results of study revealed that the majority of the respondents had perception of overall image, and the aspects of organization, staff, servicing, and social responsibility were found at a high level. Moreover, the overall service quality and the aspects of tangibles, reliability, responsiveness, assurance, and empathy were at a high level. The results of hypothesis testing indicated that different types of services had effects on the differences in the perception of image in the aspect of social responsibility. Different types of services had effects on the perception in overall service quality and in the aspects of reliability, responsiveness, assurance, and empathy. Moreover, the perception of image had a highly positive relationship with the perception of service quality.
dc.language.isoThaien_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. คณะบริหารธุรกิจen_US
dc.subjectภาพลักษณ์en_US
dc.subjectคุณภาพบริการen_US
dc.subjectธนาคารen_US
dc.subjectimageen_US
dc.subjectservice qualityen_US
dc.subjectbanken_US
dc.titleการรับรู้ภาพลักษณ์และคุณภาพบริการ : กรณีศึกษา ธนาคารเกียรตินาคิน สาขากรุงเทพมหานครและปริมณฑลen_US
dc.title.alternativePerception on image and service quality : a case study of Kiatnakin Bank at Branches in Bangkok metropolitan regionen_US
dc.typeArticleen_US
Appears in Collections:บทความ (Article - BUS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
หน้า 91-100.pdfการรับรู้ภาพลักษณ์และคุณภาพบริการ : กรณีศึกษา ธนาคารเกียรตินาคิน สาขากรุงเทพมหานครและปริมณฑล242.78 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.