Please use this identifier to cite or link to this item:
http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/2419
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | พโยม เหลือแก้ว | |
dc.contributor.author | ดารณี พิมพ์ช่างทอง | |
dc.date.accessioned | 2015-08-27T08:06:17Z | |
dc.date.accessioned | 2020-09-24T07:36:29Z | - |
dc.date.available | 2015-08-27T08:06:17Z | |
dc.date.available | 2020-09-24T07:36:29Z | - |
dc.date.issued | 2556 | |
dc.identifier.uri | http://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/handle/123456789/2419 | - |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อปรับปรุงคุณภาพในกระบวนการเชื่อมลวดโดยใช้เทคนิคซิกซ์ ซิกม่าของการผลิตออสซิลเลเตอร์โดยมีเป้าหมายเพื่อลดของเสียที่เกิดจากปัญหาลวดไม่ได้ขนาดจาก 2,640 PPM ให้เหลือต่ำกว่า 528 PPM หรือสามารถลดได้อย่างน้อย ร้อยละ 80 และต้องการปรับปรุงความสามารถของกระบวนการเชื่อมลวดในส่วนของการควบคุมขนาดบอนด์โดยมีเป้าหมายที่จะสามารถปรับค่าดัชนีความสามารถของกระบวนการ (Cpk หรือ Ppk) ให้สูงขึ้นอย่างน้อยร้อยละ 50 ในการปรับปรุงอาศัยขั้นตอนของซิกซ์ ซิกม่าซึ่งเริ่มจากการระบุปัญหา การวิเคราะห์กระบวนการวัด และตามด้วยการวิเคราะห์หาสาเหตุซึ่งใช้การระดมสมองผ่านแผนภาพก้างปลาและการวิเคราะห์ลักษณะข้อบกพร่องและผลกระทบ (FMEA) พบว่าปัจจัยที่มีผลต่อขนาดบอนด์คือ แรง เวลา กำลังและอุณหภูมิที่ใช้ในการเชื่อมลวด จากนั้นนำปัจจัยที่ได้ไปทดสอบเพื่อหาว่าปัจจัยใดบ้างที่มีผลต่อขนาดบอนด์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ผลการทดสอบพบว่า ปัจจัย แรง เวลาและกำลังเท่านั้นที่มีผลอย่างมีนัยสำคัญ จากนั้นจึงทำขั้นตอนการปรับปรุงโดยการหาค่าของปัจจัยที่เหมาะสมโดยวิธี การออกแบบการทดลอง และได้ค่าที่เหมาะสมของปัจจัย แรง เวลา และกำลังเท่ากับ 42 กรัม 15 มิลลิวินาที และ 1.54 ไมครอน (62 ไมโครนิ้ว) ตามลำดับ แล้วนำค่าที่ได้ไปทดลองและปรับใช้จากการวิเคราะห์ผลหลังการปรับปรุงพบว่าในระยะยาวสามารถลดของเสียจากเดิม 2,640 PPM ให้เหลือเพียง 23.10 PPM หรือสามารถลดได้ ร้อยละ 99.21 และความสามารถของกระบวนการ (Cpk) เพิ่มจากเดิม 0.89 ขึ้นเป็น 1.38 | en_US |
dc.description.abstract | The purposes of this independent study were to improve the quality of welding process using Six Sigma technique for oscillator production, with the target to reduce the waste from wrong size of wire from 2,640 PPM to less than 528 PPM, or at least 80%, and to improve the ability of welding process in bond size controlling stage with the target to be able to adjust the process capability index (Cpk or Ppk) up at least 50%. The improvement process using Six Sigma began by identifying the problem, analysis of measurement process, and causes analysis using brainstorming through fishbone diagrams and failure mode and effects analysis (FMEA). The results found that the factors that affected the bond size were strength, time, energy, and temperature used in welding. The finding factors were tested to find the factors that had statistical significance in affecting bond size. The testing results found that only strength, time, and energy factors had statistically significant effects. The improvement process began with finding the proper value of the factors by designing the experiment (DOE) and the proper values of strength, time, and energy were found to be 42 gram, 15 millisecond, and 1.574 micro-meter (62 micro-inches) respectively. The values found from the experiment were further adopted to the process. The analysis results after improvement process found that in the long term the amount of waste was reduced from 2,640 PPM to 23.10 PPM, or 99.21%. The capability of method (Cpk) increased from 0.89 to 1.38, or 74.68% | |
dc.language.iso | Thai | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. คณะบริหารธุรกิจ | en_US |
dc.subject | การปรับปรุงคุณภาพ | en_US |
dc.subject | ซิกซ์ ซิกม่า | en_US |
dc.subject | quality improvement | en_US |
dc.subject | Six Sigma | en_US |
dc.title | การปรับปรุงคุณภาพในกระบวนการเชื่อมลวดโดยใช้เทคนิคซิกซ์ ซิกม่า | en_US |
dc.title.alternative | Quality improvement in wire bond process used Six Sigma Technique | en_US |
dc.type | Article | en_US |
Appears in Collections: | บทความ (Article - BUS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
หน้า 435-439.pdf | การปรับปรุงคุณภาพในกระบวนการเชื่อมลวดโดยใช้เทคนิคซิกซ์ ซิกม่า | 211.69 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.