Please use this identifier to cite or link to this item: http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/2438
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorพนิดา หวานเพ็ชร
dc.contributor.authorดารณี พิมพ์ช่างทอง
dc.date.accessioned2015-09-02T08:05:03Z
dc.date.accessioned2020-09-24T07:36:07Z-
dc.date.available2015-09-02T08:05:03Z
dc.date.available2020-09-24T07:36:07Z-
dc.date.issued2556
dc.identifier.urihttp://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/handle/123456789/2438-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อวิเคราะห์กระบวนการทำงาน เพิ่มประสิทธิภาพการทำงานและจำกัด ข้อบกพร่องในการทำงานที่จะเกิดขึ้น ของแผนกบัญชีค่าใช้จ่าย สำนักงานใหญ่ บริษัท เซ็นทรัล ฟู้ด รีเทล จำกัด โดยใช้แนวคิดไคเซ็น โดยมุ่งเน้นให้พนักงานที่มีอยู่จำนวน 7 คนสามารถรองรับงานที่เพิ่มขึ้นจากการเปิดที่ทำการสาขาใหม่ 9 สาขาในเดือนพฤศจิกายน และเดือนธันวาคม พ.ศ.2555 แนวคิดไคเซ็นที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ประกอบด้วย การลดขั้นตอนในบางกระบวนการที่ไม่ก่อให้เกิดประโยชน์ออกไป (MUDA) การรวมขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ซ้ำซ้อนกันในแต่ละกระบวนการเข้าด้วยกัน (MURI) และการจัดให้เกิดความสม่ำเสมอของการนำส่งเอกสารทางการบัญชีจากร้านค้า (MURA) มาประยุกต์ใช้งาน ผลการศึกษาสามารถเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานของพนักงานแผนกบัญชีค่าใช้จ่าย ให้สามารถรองรับที่เพิ่มขึ้น โดยเฉลี่ยพนักงาน 1 คนสามารถรองรับปริมาณงานที่เพิ่มขึ้นในเดือนธันวาคมได้ถึง 139.39 เปอร์เซ็นต์จากปริมาณเฉลี่ยเดิมก่อนการปรับปรุงกระบวนการทำงานตามแนวคิดไคเซ็น และจำนวนข้อบกพร่องที่เกิดขึ้นลดลงเหลือ 2.05 เปอร์เซ็นต์ของจำนวนการทำงานทั้งหมดในเดือนธันวาคม ซึ่งลดลงจากค่าเฉลี่ย 7.7 เปอร์เซ็นต์ ที่เกิดขึ้นระหว่างเดือนมกราคม ถึงเดือนตุลาคม พ.ศ.2555en_US
dc.description.abstractThe objectives of this study were to analyze work process, increase efficiency of staff performance, and reducing staff's work fault of Account Payable Non-merchandise Department, Central Food Retail Company Limited. Using Kaizen concept aimed to help 7 staffs to handle additional work from opening new 9 branches on November to December 2012. Kaizen concept used in this study were eliminating useful process (MUDA), combining repetitive work in each process (MURI), and rearrange the regularity of the document from supplier to the department (MURA). The study results found that the staffs efficiency were increased, and the additional work and accounting document were covered. On the average, each staff could cover 139.39 % of additional work from the standard work before process improvement on December 2012. Number of faults reduced to 2.05% out of total work on December, which reduced from 7.7% on average between January to October, 2012.
dc.language.isoThaien_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. คณะบริหารธุรกิจen_US
dc.subjectการปรับปรุงกระบวนการen_US
dc.subjectแนวคิดไคเซ็นen_US
dc.subjectprocess improvementen_US
dc.subjectKaizen concepten_US
dc.titleการเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานโดยใช้แนวคิดไคเซ็น : กรณีศึกษา แผนกบัญชีค่าใช้จ่ายen_US
dc.title.alternativeThe increasing of performance efficiency by using Kaizen Concepts : case study of account payable non-merchandise departmenten_US
dc.typeArticleen_US
Appears in Collections:บทความ (Article - BUS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
หน้า 464-473.pdfการเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานโดยใช้แนวคิดไคเซ็น : กรณีศึกษา แผนกบัญชีค่าใช้จ่าย254.49 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.