Please use this identifier to cite or link to this item: http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/2466
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorThe objectives of this independent study were to study the knowledge and levels of understanding with regards to the safety of personal information in the Bangkok Metropolitan area, etc., and to provide the information gathered from the research to researchers for further studies. The example group in this study was population using computers in Bangkok of which the survey tool is 420 questionnaires. The statistics utilized in this study are percentage, arithmetic mean, standard deviation and statistic. Hypothesis testing of the differences between the populations mean of the two Independent Samples t-test and the hypothesis testing of the One-way ANOVA of more than 2 groups of population. If differences occur, tests will be processed by using the method of the Least Significant Difference (LSD). The study reveals that Grade A knowledge was only presented by 3.3% of the population and 31.4% belongs to Grade F level in safety of personal information. Therefore, it can be concluded that 68.6 % of population using computers in Bangkok have an average level of knowledge. Hypothesis testing reveals that different personal factors such as gender, age, educational level, occupation and work experience differentiate the knowledge and understanding regarding the safety of computerized personal information. The only exception is that the subjects’ level of income does not affect the knowledge and understanding of such matters.
dc.contributor.authorนวรัตน์ พัฒโนทัย
dc.contributor.authorสุรีรัตน์ อินทร์หม้อ
dc.date.accessioned2015-09-30T02:14:34Z
dc.date.accessioned2020-09-24T07:36:20Z-
dc.date.available2015-09-30T02:14:34Z
dc.date.available2020-09-24T07:36:20Z-
dc.date.issued2556
dc.identifier.urihttp://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/handle/123456789/2466-
dc.description.abstractการค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาระดับความรู้ ความเข้าใจในความปลอดภัยของข้อมูลส่วนบุคคลในเขตกรุงเทพมหานคร เพื่อนำผลการค้นคว้าการวิจัยที่ได้ไปเป็นข้อมูลให้แก่นักวิจัยที่ต้องการศึกษาต่อไป กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา คือประชาชนที่ใช้คอมพิวเตอร์ในเขตกรุงเทพมหานคร โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการสำรวจจำนวน 420 ตัวอย่าง สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ คือ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติที่ใช้การทดสอบสมมติฐานความแตกต่างระหว่างค่าเฉลี่ยของประชากรทั้ง 2 กลุ่มที่เป็นอิสระต่อกัน (Independent Samples t-test) และทดสอบสมมติฐานความแปรปรวนทางเดียวของประชากรมากกว่า 2 กลุ่มขึ้นไป (One-way ANOVA) ถ้าพบความแตกต่างก็จะทำการทดสอบความแตกต่างเป็นรายคู่โดยวิธี Least Significant Difference (LSD) ผลการศึกษาพบว่าผู้ตอบแบบสอบถาม มีความรู้อยู่ในระดับความรู้มากที่สุด (เกรด A) ร้อยละ 3.3 เท่านั้นและไม่มีความรู้ ความเข้าใจ (เกรด F) ร้อยละ 31.4 ในเรื่องความรู้ความเข้าใจในความปลอดภัยของข้อมูลส่วนบุคคล สรุปได้ว่า ประชาชนที่ใช้คอมพิวเตอร์ในเขตกรุงเทพมหานคร ส่วนใหญ่มีระดับความรู้อยู่ในเกณฑ์มีความรู้ร้อยละ 68.6 ผลการทดสอบสมมติฐานพบว่า ปัจจัยส่วนบุคคลที่มีความแตกต่างกัน ด้านเพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพประสบการณ์การทำงาน มีผลต่อความรู้ ความเข้าใจในความปลอดภัยของข้อมูลส่วนบุคคลทางระบบคอมพิวเตอร์แตกต่างกัน ยกเว้น ปัจจัยส่วนบุคคลด้านรายได้เฉลี่ยต่อเดือน ซึ่งไม่ส่งผลต่อความรู้ ความเข้าใจในความปลอดภัยของข้อมูลส่วนบุคคลทางระบบคอมพิวเตอร์en_US
dc.language.isoThaien_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. คณะบริหารธุรกิจen_US
dc.subjectความปลอดภัยของข้อมูลen_US
dc.subjectระบบคอมพิวเตอร์en_US
dc.subjectsecurity of dataen_US
dc.subjectcomputer systemen_US
dc.titleความรู้ ความเข้าใจในความปลอดภัยของข้อมูลส่วนบุคคลทางระบบคอมพิวเตอร์ : กรณีศึกษา ในเขตกรุงเทพมหานครen_US
dc.title.alternativeThe survey of people understanding of the computer privacy policy : case study Bangkoken_US
dc.typeArticleen_US
Appears in Collections:บทความ (Article - BUS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
หน้า 593-598.pdfความรู้ ความเข้าใจในความปลอดภัยของข้อมูลส่วนบุคคลทางระบบคอมพิวเตอร์ : กรณีศึกษา ในเขตกรุงเทพมหานคร217.9 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.