Please use this identifier to cite or link to this item: http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/2473
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorกนกภรณ์ ทองระย้า
dc.date.accessioned2015-10-05T06:17:12Z
dc.date.accessioned2020-09-24T04:48:57Z-
dc.date.available2015-10-05T06:17:12Z
dc.date.available2020-09-24T04:48:57Z-
dc.date.issued2557
dc.identifier.urihttp://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/handle/123456789/2473-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง การเรียนรู้โปรแกรม Microsoft Excel โดยใช้รูปแบบการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือ STAD กลุ่ม ตัวอย่างคือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวัดราษฎร์โพธิ์ทอง อำเภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ สังกัดสำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 1 ภาคเรียน ที่ 2 ปีการศึกษา 2557 จำนวน 28 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้มี 2 ชนิด ประกอบด้วย เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง คือ แผนการจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิคการจัดการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือแบบ (STAD) จำนวน 4 แผน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล มี 2 ชนิด คือ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน แบบปรนัยชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จำนวน 30 ข้อ และแบบฝึกทักษะระหว่างเรียน จำนวน 7 ชุด วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้คอมพิวเตอร์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบสมมติฐาน โดยใช้การทดสอบ (t - test) แบบ Dependent Samples ผลการวิจัยพบว่า ผลสัมฤทธิ์โดยรวมทางการเรียนวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง การเรียนรู้โปรแกรม Microsoft Excel ด้วยเทคนิคการจัดการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือแบบ (STAD) ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้en_US
dc.description.abstractThis research aims was : To compare the student achievement. Page Simple Learning Microsoft Excel, using a form of learning and group collaboration STAD student's grade 6.Sample was in elementary school, Wat Pho grade 6. Samut Prakan Thailand under the Office of Elementary Samut Prakan ,District 1 ,semester 2 /2557 with 28 students. The instruments used in this research are two types: 1) used in the experiment was 4 lesson plans with technical learning group collaboration (STAD) 2) used in the collection, there are 2 types of test achievement. 4 types of multiple-choice answer options 30 items and skills during learning are 7 series and analyzed the data by a computer. The statistics used in this study are the standard deviation of the mean and hypothesis testing by using the test (t-test) with Dependent Samples. The results of the research were found. Achievement Page Simple Learning Microsoft Excel application techniques of cooperative learning groups (STAD) of grade 6 students were higher than the previous. The level of statistical significance. 05, according to the hypothesis.en_US
dc.language.isoThaien_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม. สาขาวิชาการวิจัยและพัฒนาหลักสูตรen_US
dc.subjectกิจกรรมการเรียนรู้en_US
dc.subjectรูปแบบการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือ STADen_US
dc.titleผลของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้รูปแบบการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือ STAD เพื่อส่งเสริมผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6en_US
dc.title.alternativeThe organising learning activities in collaborative instructional model by student teams achievement divisions cooperation in groups to promote the computer learning achievement of students in grade 6en_US
dc.typeThesisen_US
Appears in Collections:วิทยานิพนธ์ (Thesis-TECHED)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
RMUTT-106609.pdfผลของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้รูปแบบการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือ STAD เพื่อส่งเสริมผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 63.95 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.