Please use this identifier to cite or link to this item: http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/2587
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorปานฉัตท์ อินทร์คง
dc.contributor.authorเยาวเรศ จุนวีระนงศ์
dc.date.accessioned2015-12-23T03:43:25Z
dc.date.accessioned2020-09-24T04:39:13Z-
dc.date.available2015-12-23T03:43:25Z
dc.date.available2020-09-24T04:39:13Z-
dc.date.issued2558
dc.identifier.urihttp://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/handle/123456789/2587-
dc.description.abstractทับหลังในศิลปะก่อนเมืองพระนครมีรูปแบบที่แสดงวิวัฒนาการหรือการปรับเปลี่ยนรูปแบบด้วยแนวคิดการประยุกต์ใช้เทคนิคการจัดวางตามแบบที่นิยมทำกันในช่วงนั้นๆ โดยนำมาจัดใหม่เกิดเป็นรูปแบบศิลปะที่สวยงามเรียงตามลำดับสมัยได้ 5 ยุค คือ ศิลปะแบบพนมดา (พ.ศ.1090) ศิลปะแบบถาลาบริวัต (พ.ศ.1150) ศิลปะแบบสมโบร์ไพรกุก (พ.ศ. 1150-1200) ศิลปะแบบไพรกเมง (พ.ศ. 1185-1250) และศิลปะแบบกำพงพระ (พ.ศ. 1256-1350) ซึ่งทั้ง 5 ยุค แสดงให้เห็นการวิวัฒนาการของรูปแบบทับหลังได้จากเรื่องราวและลวดลายที่เป็นองค์ประกอบภายในทับหลังโดยเฉพาะลวดลายบนทับหลังวัดสระแก้ว อำเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัด อุบลราชธานี เป็นรูปแบบทับหลังที่มีลักษณะการออกแบบลายที่ไม่เหมือนที่อื่นในยุคไพรกเมง คือ มีการแบ่งแนวเส้นลายเป็นแบบตารางซ้ายขวาเท่ากันทั้งแนวตั้งและแนวนอน ประกอบด้วยลวดลายดอกไม้ประดิษฐ์ลายใบไม้ม้วน ลายรวงข้าว ลายดอกไม้สี่กลีบสลับสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน และลายเฟืองอุบะ ในลักษณะที่จัดวางภายในกรอบสี่เหลี่ยมได้อย่างเป็นระเบียบสวยงามตามหลักของการจัดองค์ประกอบศิลป์ทั้งการใช้เส้น รูปร่าง รูปทรง น้ำหนัก สี พื้นผิว และเทคนิคการผลิต แสดงอัตลักษณ์เฉพาะทางวัฒนธรรมที่ทรงคุณค่าของท้องถิ่นเกิดเป็นรูปแบบใหม่ตามความคิดเชิงช่าง ทำให้เกิดรูปแบบที่แปลกและสวยงามมากขึ้น รูปแบบลวดลายเป็นลักษณะของลวดลายที่เคยเกิดขึ้นในศิลปะทวารวดีนำมาผสมผสานกับศิลปะในแต่ละยุคที่เคยเกิดขึ้นในสมัยก่อนเมืองพระนคร และมีการจัดวางองค์ประกอบของรูปทรงสี่เหลี่ยมในขนาดที่แตกต่างกัน เกิดความงามในแบบเฉพาะของท้องถิ่น เกิดการปรับเปลี่ยนรูปทรงที่มีการวิวัฒนาการรูปแบบต่างๆ สู่อัตลักษณ์วัฒนธรรมที่มีคุณค่าของชุมชนen_US
dc.description.abstractLintel in the prior Angkor art shows patterns that reveal its development and adjustment in the concept of arrangement applications practiced in that time. The adjusted arrangement resulted in fascinating forms of art work in five periods, namely, Phnom Da art (B.E. 1090), Thalaboriwat art (B.E. 1150), Somboprikook art (B.E. 1150-1200), Prikameng art (B.E. 1185-1250), and Kampongpra art (B.E. 1256-1350). The evolution of lintel patterns is exhibited through in these five art periods the stories and motifs within the lintel especially the motifs on this lintel at Wat Sa Kaeo, Piboolmangsahan District, Ubon Ratchathani Province. The motifs and patterns on the lintel are different than the others in Prikameng art, i.e. the division of line marking as the table with equal sizes both left and right margins, vertical and horizontal levels. The motifs are composed of artificial flowers, curled leaves, rice stalks, four-petal flowers alternated with rhombuses and the Feung Uba pattern. The arrangements in the frame of the squares are orderly and beautiful based on the principle of art component arrangement that uses line, appearance, shape, weight, color, texture, and production technique which lead to the unique cultural identity as valuable asset of the locality to an exotic and exceptional form. The pattern is the combination of Dvaravati Style and Pre Ankor Style Period with the composition of different sizes of square form which leads to the indigenous style and transformation and evolution of different format that brings cultural value to the community.
dc.language.isoThaien_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. คณะศิลปกรรมศาสตร์en_US
dc.subjectทับหลังen_US
dc.subjectศิลปะแบบไพรกเมงen_US
dc.subjectอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมen_US
dc.titleลวดลายทับหลังหินทรายแดงศิลปะแบบไพรกเมงวัดสระแก้ว จังหวัดอุบลราชธานี : การปรับเปลี่ยนรูปแบบสู่อัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมen_US
dc.title.alternativePattern on red sandstone lintels of Prikameng Art Style at Sa Kaeo Temple, Ubonrachatani Province : a form modification to cultural identityen_US
dc.typeArticleen_US
Appears in Collections:บทความ (Article - FA)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
RMUTT-FA-2558, 32-49.pdfลวดลายทับหลังหินทรายแดงศิลปะแบบไพรกเมงวัดสระแก้ว จังหวัดอุบลราชธานี : การปรับเปลี่ยนรูปแบบสู่อัตลักษณ์ทางวัฒนธรรม349.29 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.