Please use this identifier to cite or link to this item: http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/2600
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorปัญจลักษณ์ หรีรักษ์
dc.date.accessioned2016-01-06T08:59:31Z
dc.date.accessioned2020-09-24T04:39:11Z-
dc.date.available2016-01-06T08:59:31Z
dc.date.available2020-09-24T04:39:11Z-
dc.date.issued2558
dc.identifier.issn2351-0285
dc.identifier.urihttp://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/handle/123456789/2600-
dc.description.abstractการวิจัยมีวัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษารูปแบบลวดลายเครื่องประดับดินเผา ของชาวบ้านตำบลด่านเกวียนจังหวัดนครราชสีมา 2. เพื่อออกแบบพัฒนารูปแบบของผลิตภัณฑ์เครื่องประดับ ดินเผาให้มีความหลากหลายเพื่อความงามและประโยชน์ในการใช้สอย 3. เพื่อประเมินความพึงพอใจจากรูปแบบเครื่องประดับดินเผาด่านเกวียน จังหวัดนครราชสีมา ที่มีเอกลักษณ์และการผลิตสินค้าในท้องถิ่น 4. เพื่อนำองค์ความรู้เครื่องประดับดินเผาสู่ชุมชน กลุ่มทำเครื่องประดับร่างกาย ด่านเกวียน จังหวัดนครราชสีมาได้แก่ 1. กลุ่มผู้ผลิตเครื่องประดับดินเผาและจำหน่ายผลิตภัณฑ์เครื่องประดับดินเผาจำนวน 10 คนกลุ่มที่มีความรู้ทางด้านการออกแบบ จำนวน 90 คน รวมทั้งสิ้น 100 คน ผลการวิจัยพบว่า 1. ด้านการศึกษาแบบเครื่องประดับรูปทรงเรขาคณิตลวดลายที่นิยมส่วนใหญ่จะเป็นลายประยุกต์และลายเรขาคณิต 2.ด้านการออกแบบรูปทรงเครื่องประดับรูปทรงเรขาคณิตทรงสี่เหลี่ยม รูปลักษณ์สีเครื่องประดับดินเผาด่านการใช้สีจากธรรมชาติของดิน สีคู่ข่างเคียงและการใช้สีตัดกัน 3. ด้านความพึงพอใจในรูปแบบเครื่องประดับดินเผารูปแบบเรขาคณิต รูปทรงสี่เหลี่ยมสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการออกแบบรูปทรงเครื่องประดับได้มากที่สุดรูปลักษณ์สีสันของเครื่องประดับดินเผา การใช้สีจากธรรมชาติของดิน สีคู่ข้างเคียงได้มากที่สุดมีค่าเฉลี่ยสูงสุด 4. ด้านการนำองค์ความรู้เครื่องประดับดินเผาสู่ชุมชนพบว่าความรู้ที่ได้สามารถนำไปถ่ายทอดสู่ชุมชนที่ใช้ประโยชน์จากงานวิจัยได้จริง สามารถต่อยอดธุรกิจการทำเครื่องประดับดินเผา ในรูปแบบใหม่ที่มีเอกลักษณ์ท้องถิ่นสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้าชุมชนอย่างยั่งยืนen_US
dc.description.abstractThe major objectives of this research were to 1) study the patterns of terracotta ornament from Dan Kwean district, Nakorn Ratchasrima province, 2) to design and develop patterns of terracotta ornament for various uses, 3) to evaluate customer’s satisfaction toward the unique terracotta ornaments from Dan Kwean district, 4) to deploy the knowledge of terracotta ornaments to jewelry communities in Dan Kwean district, Nakorn Ratchasrima province as follows: 10 terracotta ornament makers and entrepreneurs and 90 terracotta ornament designers. The findings are as follows: 1) geometric patterns and modern patterns are the most popular design, 2) the square shape, earth tone colors in both similar shades and contrast shades are popular, 3) the square shape patterns could be applied in various designs and earth tone colors are the most popular, 4) the transferred knowledge to the community might lead to value added business elite in terracotta ornament which results in sustainable local product from the community.
dc.language.isoThaien_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. คณะศิลปกรรมศาสตร์. ภาควิชาศิลปะการออกแบบและเทคโนโลยีen_US
dc.subjectการพัฒนารูปแบบen_US
dc.subjectเครื่องประดับดินเผาen_US
dc.subjectmodel developmenten_US
dc.subjectclay jewelryen_US
dc.titleการออกแบบและพัฒนารูปแบบเครื่องประดับดินเผาด่านเกวียนen_US
dc.title.alternativeDesign and development of model clay jewelry Dan-kwiavianen_US
dc.typeArticleen_US
Appears in Collections:บทความ (Article - FA)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
RMUTT-FA-2558, 207-236.pdfการออกแบบและพัฒนารูปแบบเครื่องประดับดินเผาด่านเกวียน719.28 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.