Please use this identifier to cite or link to this item: http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/2753
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorชนภัทธ์ อินทวารี
dc.date.accessioned2017-04-19T09:28:09Z
dc.date.accessioned2020-09-24T04:49:24Z-
dc.date.available2017-04-19T09:28:09Z
dc.date.available2020-09-24T04:49:24Z-
dc.date.issued2558
dc.identifier.urihttp://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/handle/123456789/2753-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง ประวัติศาสตร์ ท้องถิ่น โดยใช้ชุมชนเป็นฐานการเรียนรู้สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนวัดโบสถ์ จังหวัดสิงห์บุรี และ 2) ศึกษาผลการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น โดยใช้ ชุมชนเป็นฐานการเรียนรู้สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนวัดโบสถ์ จังหวัดสิงห์บุรี ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนวัดโบสถ์ จังหวัดสิงห์บุรี 3 ห้อง จำนวน 113 คน โดยการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งกลุ่ม 1 ห้อง จำนวน 37 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย แบบประเมินคุณภาพของแผนการจัดการเรียนรู้ จำนวน 12 ข้อ โดยมีค่าความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหาอยู่ระหว่าง 0.6-1.0 และแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ จำนวน 20 ข้อ โดยมีค่าความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา 0.6-1.0 ค่าความยากง่าย 0.20-0.89 และค่าอำนาจ จำแนก 0.21-0.58 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติ ทดสอบ t-test แบบ Dependent ผลการวิจัยพบว่า แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น จำนวน 5 แผน มีองค์ประกอบดังนี้ สาระการเรียนรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้ เนื้อหาหลักสูตร การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล โดยมีวิธีจัดการเรียนรู้ คือ การทัศนศึกษาในสถานที่จริง การอภิปรายกลุ่ม การ สัมภาษณ์ผู้เกี่ยวข้องในท้องถิ่น การสร้างแผนผังความคิด ผลการทดลองพบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนหลังเรียนของนักเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01en_US
dc.description.abstractThe objectives of this research were to 1) develop a community-based education management plan on local history for prathomsuksa 4 students in Wat Bot School, Singburi province, and 2) examine the performance and efficiency of the developed plan. The population of this study was 113 prathomsuksa students in Wat Bot School, Singburi province. The sample was selected based on cluster sampling; there were 37 students per a classroom. The research instruments were of 12 - item quality assessment for communitybased education management plan, with 0.6 - 1.0 content validity, and a 20 - item achievement test, with 0.6 - 1.0 content validity, .20 -. 0.89 difficulty, and 0.21 – 0.58 discriminative validity. Data were analyzed by statistics including mean, standard deviation and dependent sample t-test. The results of this research showed that the community-based education management plan on local history consisted of five plans: learning content, learning purpose, course content, learning activities, and measurement and evaluation. The approaches to education management were field study, group discussions, interviews with relevant local, and creating a mind maps. The experiment results showed that the sample had a higher post-test score than pre-test score with statistical significance level of .01.
dc.language.isothaien_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม. สาขาวิชาการวิจัยและพัฒนาหลักสูตรen_US
dc.subjectการจัดการเรียนรู้en_US
dc.subjectแผนการจัดการเรียนรู้en_US
dc.subjectประวัติศาสตร์ท้องถิ่นen_US
dc.subjectการจัดการเรียนรู้โดยใช้ชุมชนเป็นฐานen_US
dc.titleการศึกษาผลการจัดการเรียนรู้ เรื่อง ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น โดยใช้ชุมชนเป็นฐานการเรียนรู้ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนวัดโบสถ์ จังหวัดสิงห์บุรีen_US
dc.title.alternativeA study of community-based education management on local history for prathomsuksa 4 students in Wat Bot School, Singburi provinceen_US
dc.typeThesisen_US
Appears in Collections:วิทยานิพนธ์ (Thesis-TECHED)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
RMUTT-151615.pdfA study of community-based education management on local history for prathomsuksa 4 students in Wat Bot School, Singburi province3.18 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.