Please use this identifier to cite or link to this item:
http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/277
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | สุเทพ วัชราเรืองวิทย์ | |
dc.contributor.author | ปัณณธร สายสนิท | |
dc.contributor.author | วินัย จันทร์เพ็ง | |
dc.date.accessioned | 2011-12-28T06:41:12Z | |
dc.date.accessioned | 2020-09-24T04:37:20Z | - |
dc.date.available | 2011-12-28T06:41:12Z | |
dc.date.available | 2020-09-24T04:37:20Z | - |
dc.date.issued | 2551 | |
dc.identifier.uri | http://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/handle/123456789/277 | - |
dc.description.abstract | การศึกษาวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อออกแบบและประดิษฐ์ต้นแบบเครื่องดูดเก็บน้ำยาทำความเย็นเพื่อนำกลับไปใช้ใหม่ และเพื่อช่วนลดการปล่อยน้ำยาทำความเย็นสู่บรรยากาศ โดยเป็นการนำเอาน้ำยาทำความเย็น R-22 ที่ใช้เป็นสารทำความเย็นในระบบปรับอากาศหรือระบบทำความเย็นกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ ยังผลทำให้ช่วยลดค่าใช้จ่ายในการจัดหาน้ำยาทำความเย็นลงได้ การศึกษาวิจัยในครั้งนี้ได้ทำการสร้างเครื่องดูดเก็บน้ำยาทำความเย็นโดยใช้หลักการเหมือนกับระบบทำความเย็น นั่นคือใช้เครื่องอัดไอทำหน้าที่ดูดน้ำยาทำความเย็นที่อยู่ในเครื่องทำความเย็นหรือเครื่องปรับอากาศเข้ามาในระบบที่อยู่ในสถานะไอ แล้วจึงอัดไอให้มีความดันสูงเพื่อให้ไหลเข้าสู่เครื่องควบแน่น โดยที่ทางออกของเครื่องควบแน่นสารจะมีสถานะเป็นของเหลว แล้วจึงใช้วาล์วควบคุมให้สารไหลเข้าไปในถังกักเก็บ โดยมีชุดควบคุมความดันเป็นตัวตรวจสอบระบบว่ายังมีน้ำยาทำความเย็นหลงเหลือในเครื่องทำความเย็นหรือเครื่องปรับอากาศอยู่หรือไม่ และเมื่อความดันถึงช่วงที่ต้องการแล้วจะทำการปิดระบบที่เชื่อมต่อ นอกจากนี้เครื่องดูดเก็บน้ำยาทำความเย็นยังสามารถดูดเก็บน้ำยาทำความเย็นในสถานะของเหลวได้อีกด้วย ผลการศึกษาวิจัยพบว่า เครื่องดูดเก็บน้ำยาทำความเย็นที่ออกแบบและสร้างขึ้นนี้ สามารถดูดเก็บน้ำยาออกมาจากระบบเครื่องปรับอากาศได้ทั้งแบบที่เป็นของเหลวและไอ ซึ่งการดูดแบบของเหลวมีข้อดีคือใช้เวลาน้อย ส่วนการดูดแบบไอมีข้อดีคือ ได้น้ำยาที่สะอาดกว่า และน้ำยาที่ได้สามารถนำกลับไปใช้ใหม่ได้โดยไม่เปลี่ยนคุณสมบัติ และมีความสามารถในการดูดเก็บน้ำยาออกจากระบบเครื่องปรับอากาศได้หมด โดยใช้เวลาในการดูดเก็บเฉลี่ย 3 ปอนด์ต่อนาที สำหรับการดูดเก็บน้ำยาทำความเย็นที่เป็นของเหลว และ 0.4 ปอนด์ต่อนาที สำหรับการดูดน้ำยาทำความเย็นที่เป็นไอ | en_US |
dc.language.iso | Thai | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.คณะวิศวกรรมศาสตร์.ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล | en_US |
dc.subject | เครื่องทำความเย็น -- วิจัย | en_US |
dc.subject | เครื่องปรับอากาศ | en_US |
dc.subject | น้ำยาทำความเย็น | en_US |
dc.title | เครื่องดูดเก็บน้ำยาทำความเย็นเพื่อนำกลับไปใช้ใหม่ | en_US |
dc.title.alternative | Refrigerant recovery devices | en_US |
dc.type | Research | en_US |
Appears in Collections: | วิจัย (Research - EN) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
เครื่องดูดเก็บน้ำยาทำความเย็นเพื่อนำกลับไปใช้ใหม่.pdf | Refrigerant recovery devices | 439.12 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.