Please use this identifier to cite or link to this item: http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/2784
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorจุฑารัตน์ ดวงเทียน
dc.date.accessioned2017-04-25T03:52:00Z
dc.date.accessioned2020-09-24T04:49:26Z-
dc.date.available2017-04-25T03:52:00Z
dc.date.available2020-09-24T04:49:26Z-
dc.date.issued2558
dc.identifier.urihttp://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/handle/123456789/2784-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชานาฏศิลป์ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เรื่อง การประดิษฐ์ท่ารำ ประกอบเพลงค่านิยม 12 ประการ ระหว่างกลุ่มทดลองกับกลุ่มควบคุม 2) เพื่อเปรียบเทียบทักษะปฏิบัติการรำของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เรื่อง การประดิษฐ์ท่ารำ ประกอบเพลงค่านิยม 12 ประการ ระหว่างกลุ่มทดลองกับกลุ่มควบคุม กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ นักเรียนโรงเรียนธัญรัตน์ ปีการศึกษา 2558 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จำนวน 96 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้ทักษะปฏิบัติของซิมพ์ซันร่วมกับการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิคSTAD 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและ 3) แบบประเมินทักษะปฏิบัติการรำ ผลการวิจัยพบว่า 1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของกลุ่มทดลอง จากการใช้แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้ทักษะปฏิบัติของซิมพ์ซัน ร่วมกับการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD เรื่อง การประดิษฐ์ท่ารำประกอบเพลงค่านิยม 12 ประการ สูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 2) ทักษะปฏิบัติการรำของกลุ่มทดลอง จากการใช้แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้ทักษะปฏิบัติของซิมพ์ซัน ร่วมกับการเรียนรู้แบบร่วมมือ เทคนิค STAD เรื่อง การประดิษฐ์ท่ารำประกอบเพลงค่านิยม 12 ประการ สูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05en_US
dc.description.abstractThe research aimed to 1) compare the students’ achievement for the invention of dance consisting of Twelve Values Announced Song between the experimental group and the control group, 2) compare practical skills in classical Thai dance for the invention of dance consisting of Twelve Values Announced Song between the experimental group and the control group. The sample group in this study was 96 Mathayomsuksa 3 students at Thanyarat School in the second semester of the academic year 2015. The tools used in this research were 1) learning management plans, 2) achievement tests, and 3) evaluation forms of classical Thai dance skills. The findings revealed that: 1) the learning achievement of the experimental group after learning by integrating Simpson’s Instruction Model and Cooperative Learning (STAD) was higher than the control group at .05 level of significance, and 2) the practical skills in classical Thai dance for the invention of dance consisting of Twelve Values Announced Song of the experimental group was higher than the control group at .05 level of significance.en_US
dc.language.isoThaien_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม. สาขาวิชาการวิจัยและพัฒนาหลักสูตรen_US
dc.subjectทักษะปฏิบัติของซิมพ์ซันen_US
dc.subjectการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STADen_US
dc.subjectท่ารำ -- การประดิษฐ์en_US
dc.titleการพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้ทักษะปฏิบัติของซิมพ์ซันร่วมกับการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD เรื่อง การประดิษฐ์ท่ารำ ประกอบเพลงค่านิยม 12 ประการ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3en_US
dc.title.alternativeThe development of teaching techniques by integrating Simpson’s Instruction Model and Cooperative Learning (STAD) model for the invention of dance consisting of twelve values Announced song for mathayomsuksa 3 studentsen_US
dc.typeThesisen_US
Appears in Collections:วิทยานิพนธ์ (Thesis-TECHED)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
RMUTT-151664.pdfการพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้ทักษะปฏิบัติของซิมพ์ซันร่วมกับการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD เรื่อง การประดิษฐ์ท่ารำ ประกอบเพลงค่านิยม 12 ประการ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 34.07 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.