Please use this identifier to cite or link to this item:
http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/2931
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | โสภิดา วิศาลศักดิ์กุล | |
dc.date.accessioned | 2017-09-12T03:05:56Z | |
dc.date.accessioned | 2020-09-24T04:41:06Z | - |
dc.date.available | 2017-09-12T03:05:56Z | |
dc.date.available | 2020-09-24T04:41:06Z | - |
dc.date.issued | 2558 | |
dc.identifier.uri | http://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/handle/123456789/2931 | - |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสูตรที่เหมาะสมในการทาพลาสติกชีวภาพจากแป้งเมล็ดขนุน เพื่อสร้างต้นแบบบรรจุภัณฑ์พลาสติกชีวภาพจากแป้งเมล็ดขนุน และเพื่อสำรวจความพึงพอใจของผู้บริโภคที่มีต่อบรรจุภัณฑ์พลาสติกชีวภาพจากแป้งเมล็ดขนุนสาหรับผลิตภัณฑ์เครื่องปั้นดินเผา การศึกษาสูตรที่เหมาะสม ปัจจัยที่ทำการศึกษา คือ ปริมาณของกลีเซอรีน โดยแปรเป็น 5 ระดับ คือ ร้อยละ 0 25 50 75 และ 100 ของน้ำหนักแป้งเมล็ดขนุน ทำการอัดขึ้นรูปพลาสติกชีวภาพด้วย เครื่องอัดขึ้นรูปที่อุณหภูมิ 150 องศาเซลเซียส แล้วนำมาวิเคราะห์คุณภาพทางเคมีและกายภาพของแผ่นพลาสติกชีวภาพจากแป้งเมล็ดขนุน ได้แก่ค่าความชื้น ลักษณะที่ปรากฏ ความต้านทานแรงดึงและค่าความแข็ง จากนั้นทำการคัดเลือกสิ่งทดลองที่ดีที่สุด เพื่อนำมาสร้างต้นแบบบรรจุภัณฑ์พลาสติกชีวภาพจากแป้งเมล็ดขนุน ทดสอบคุณภาพบรรจุภัณฑ์ และสำรวจความพึงพอใจของผู้บริโภคที่มีต่อบรรจุภัณฑ์พลาสติกชีวภาพจากแป้งเมล็ดขนุนสำหรับผลิตภัณฑ์เครื่องปั้นดินเผา ผลการวิจัย พบว่า พลาสติกชีวภาพจากแป้งเมล็ดขนุนที่มีปริมาณกลีเซอรีนร้อยละ 50 ของน้ำหนักแป้งเมล็ดขนุน มีความเหมาะสมในการนำมาผลิตเป็นบรรจุภัณฑ์พลาสติกชีวภาพจากแป้งเมล็ดขนุนมากที่สุด โดยมีค่าความชื้นร้อยละ 11.20 ลักษณะปรากฏสามารถเกาะตัวกันเป็นแผ่นได้ดีมีค่าความต้านทานแรงดึงอยู่ที่ 0.57 ค่าความยืดหยุ่น 14.92 ค่าร้อยละการยืดตัวที่จุดขาด 8.72 และค่าความแข็ง 55.10 บรรจุภัณฑ์ต้นแบบสามารถเรียงซ้อนชั้นได้สูงสุดถึง 109 ชั้น และจากการสำรวจความพึงพอใจบรรจุภัณฑ์พลาสติกชีวภาพจากแป้งเมล็ดขนุนสาหรับผลิตภัณฑ์เครื่องปั้นดินเผาของกลุ่มผู้บริโภคและกลุ่มผู้ประกอบการมีความพึงพอใจโดยรวมเฉลี่ย 4.26 + 0.71 และ 3.84 + 1.06 ตามลำดับ | en_US |
dc.description.abstract | The research aimed to find out the optimum formulation of jackfruit seed starch for making bioplastics to prototype pottery packaging, and to investigate the consumers’ satisfaction toward this bioplastic packaging. To study the optimum formulation, the main variable was the percentage of glycerin added to jackfruit seed starch, i.e. 0, 25, 50, 75, and 100. Each mixture was then molded by the compression molding at 150 degree Celsius. After that, its chemical and physical quality were analyzed to determine moisture contents, tensile strength, Young’s modulus, percentage strain at break, and Shore hardness type A. Next, the best mixture was selected, and the packaging quality was tested. Finally, the questionnaire asking about consumers’ satisfaction was analyzed. The results showed that the most appropriate mixture was the one with 50% glycerin. The measurement of moisture contents was 11.20 %. The calculation of its tensile strength, Young’s modulus, percentage strain at break, and Shore hardness type A was 0.57, 14.92, 8.72, and 55.10, respectively. This bioplastic content was also well agglomerate. Hence, 109 prototype packaging containers could be stacked up. Furthermore, the satisfaction of the consumers and entrepreneurs was at 4.26 + 0.71 and 3.84 + 1.06, respectively. | en_US |
dc.language.iso | Thai | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์. สาขาวิชาเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ | en_US |
dc.subject | พลาสติกชีวภาพ | en_US |
dc.subject | บรรจุภัณฑ์ | en_US |
dc.subject | เครื่องปั้นดินเผา | en_US |
dc.subject | ผลิตภัณฑ์เครื่องปั้นดินเผา | en_US |
dc.title | การพัฒนาบรรจุภัณฑ์พลาสติกชีวภาพจากแป้งเมล็ดขนุนสำหรับผลิตภัณฑ์เครื่องปั้นดินเผา | en_US |
dc.title.alternative | Bioplastic pottery packaging development from jackfruit seed starch | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
Appears in Collections: | วิทยานิพนธ์ (Thesis - HET) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
RMUTT-151718.pdf | การพัฒนาบรรจุภัณฑ์พลาสติกชีวภาพจากแป้งเมล็ดขนุนสำหรับผลิตภัณฑ์เครื่องปั้นดินเผา | 4.27 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.