Please use this identifier to cite or link to this item: http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/294
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorศราวุธ ใจเย็น
dc.contributor.authorเดโช ทองอร่าม
dc.contributor.authorกมลทิพย์ พลอยกระจ่าง
dc.contributor.authorเฉลิมพงษ์ โพธิ์ลี้
dc.contributor.authorเป็นไท ปิ่นม่วง
dc.date.accessioned2012-01-04T03:39:54Z
dc.date.accessioned2020-09-24T04:46:15Z-
dc.date.available2012-01-04T03:39:54Z
dc.date.available2020-09-24T04:46:15Z-
dc.date.issued2549
dc.identifier.urihttp://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/handle/123456789/294-
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาต้นแบบระบบวัดรังสีสำหรับใช้ในการศึกษาวิชาปฏิบัติการฟิสิกส์พื้นฐาน ในการจัดระบบวัดรังสีแบบนับรวมและแบบนับแยกเฉพาะพลังงานประกอบด้วยโมดูลวงจรแหล่งจ่ายไฟฟ้าศักดาต่ำ วงจรแหล่งจ่ายไบอัสศักดาสูง วงจรขยายสัญญาพัลส์ วงจรวิเคราะห์แบบช่องเดี่ยว (SCA) วงจรนับรังสี วงจรตั้งเวลาและวงจรตัดสัญญาณ/เรตมิเตอร์ ระบบวัดรังสีแบบโมดูลที่พัฒนาขึ้นออกแบบและสร้างโดยเลือกวัสดุพร้อมอุปกรณ์ที่หาได้ในประเทศเป็นหลักเพื่อความสะดวกในการบำรุงรักษา ผลการทดลองจัดระบบวัดรังสีแบบนับรวมพบว่าสามารถนับรังสีที่อัตรานับสูงสุด 4.5x10(superscript6) cps แสดงค่านับวัดสูงสุดที่ 10(superscript6)-1 ครั้ง งเวลานับรังสีได้ตั้งแต่ 1 วินาที – 99 นาที และสามารถแสดงค่าเฉลี่ยของการนับรังสีด้วยเรตมิเตอร์ได้ในย่าน 100 - 10(superscript5) cpa ในขณะที่ระบบแยกนับเฉพาะพลังงานนั้นผลทดสอบความเป็นเชิงเส้นของสเกล LLD และ ∆E ของอุปกรณ์วิเคราะห์แบบช่องเดี่ยวพบว่าให้ค่า R(superscript2) = 0.999 และ 0.999 ตามลำดับ และจากการทดลองวิเคราะห์สเปกตรัมพลังงานด้วยหัววัดรังสี NaI (Tl ) พบว่าให้ผลเป้นที่พอใจสำหรับการใช้งานด้านการเรียนการสอนและงานวิจัยพื้นฐานen_US
dc.description.sponsorshipมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรีen_US
dc.language.isoThaien_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.สาขาวิชาฟิสิกส์en_US
dc.subjectนิวเคลียร์ฟิสิกส์ -- วิจัยen_US
dc.subjectนิวเคลียร์en_US
dc.titleการพัฒนาต้นแบบระบบปฏิบัติการนิวเคลียร์ฟิสิกส์สำหรับใช้ในการศึกษาวิชาฟิสิกส์พื้นฐานen_US
dc.title.alternativeDevelopment of nucler physics laboratory as a prototype system for studying fundamental physicsen_US
dc.typeResearchen_US
Appears in Collections:วิจัย (Research - SCI)



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.