Please use this identifier to cite or link to this item:
http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/2962
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | กมลวรรณ สุขสวัสดิ์ | |
dc.date.accessioned | 2017-11-09T01:25:25Z | |
dc.date.accessioned | 2020-09-24T04:41:10Z | - |
dc.date.available | 2017-11-09T01:25:25Z | |
dc.date.available | 2020-09-24T04:41:10Z | - |
dc.date.issued | 2559 | |
dc.identifier.uri | http://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/handle/123456789/2962 | - |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการสกัดไขมันด้วยวิธีแบบเย็นโดยใช้เครื่องบีบ น้ำมัน Screw Press และวิธีแบบร้อนโดยใช้เครื่อง Soxhlet Extraction ต่อสมบัติของไขมันและแป้งจาก เมล็ดเงาะ วิธีการวิจัย คือ นำเมล็ดเงาะที่ผ่านการคัดแยกเอาเฉพาะเมล็ดที่สมบูรณ์ อบแห้งที่อุณหภูมิ 65 องศาเซลเซียส และนำไปโม่แห้งแล้วทำการสกัดไขมันด้วยวิธีแบบเย็น และวิธีแบบร้อน ศึกษา สมบัติทางกายภาพและเคมีของไขมันจากเมล็ดเงาะ ส่วนกากที่เหลือจากการสกัดไขมันนำมาโม่แห้ง ให้ละเอียด ร่อนผ่านตะแกรง 40 เมช เพื่อศึกษาสมบัติทางกายภาพ เคมี และเคมีกายภาพของแป้งที่ได้ ผลการวิจัย พบว่า ไขมันเมล็ดเงาะจากการสกัดด้วยวิธีแบบเย็นมีค่าจุดหลอมเหลว (55.00 องศาเซลเซียส) ค่าไอโอดีน (43.34 กรัมต่อตัวอย่างไขมัน 100 กรัม) ค่าสปอนนิฟิเคชัน (180.04 มิลลิกรัมโพแทสเซียมไฮดรอกไซด์ต่อไขมัน 1 กรัม) และค่าปริมาณสารที่สปอนนิฟายไม่ได้ (ร้อยละ 0.33) สูงกว่าวิธีแบบร้อน ส่วนแป้งเมล็ดเงาะที่สกัดไขมันออกด้วยวิธีแบบร้อนมีค่าร้อยละ ของผลผลิตที่ได้ (ร้อยละ 63.55) ค่าความชื้น (ร้อยละ 6.09) ค่าความสามารถในการดูดซับน้า (ร้อยละ 2.85) ค่าคาร์โบไฮเดรต (75.54 กรัม/100 กรัม) ค่าเส้นใย (2.89 กรัม/100 กรัม) ค่ากำลังการ พอง (11.21 กรัม/กรัม) และค่าการละลาย (ร้อยละ 11.30) สูงกว่าวิธีแบบเย็น ลักษณะของแป้งเมล็ด เงาะที่ได้จากสกัดไขมันออกด้วยวิธีแบบเย็น พบว่า มีลักษณะเป็นรูปกลม ผิวขรุขระ ผลึกจัดเรียงกัน หนาแน่น | en_US |
dc.description.abstract | This research was aimed to study the effects of fat extraction by cold extraction: Screw Press and by hot extraction: Soxhlet Extractionon on the physical and chemical properties of fat and flour from rambutan seed. The research was conducted by selecting perfect rambutan seeds which were then dried at 65℃, ground and passed through the cold extraction and hot extraction for seed fat. The chemical and physical properties of the extracted fat were studied. The remaining residue from the extraction of fat was processed through the dry milling, and meshed through the 40 mesh for rambutan seed flour of which the chemical and physical properties were then studied. It was found that the fat melting point (55 ℃), iodine value (43.34 g of iodine/100 g fat), saponification value (180.04 mg KOH/g fat), and unsaponification value 0.33 % of the rambutan fat from cold extraction were higher than that from the hot extraction. For Rambutan seed flour, Its flour yield (63.55 %), moisture (6.09 %), water absorbing ability (2.85 %), carbohydrates (75.54 g/100 g), fiber (2.89 g/100 g), swelling power (11.21 g/g), and solubility (11.30 %) were higher than that from cold extraction. The observation of the size and characteristics of rambutan seed flour obtained from the extraction of fat by the cold method, the shape and surface of seeds were found to be rough and dense. | |
dc.language.iso | thai | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์. สาขาวิชาเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์. | en_US |
dc.subject | การสกัดไขมันด้วยวิธีแบบเย็น | en_US |
dc.subject | แป้งเมล็ดเงาะ | en_US |
dc.subject | สมบัติทางกายภาพและเคมี | en_US |
dc.subject | เมล็ดเงาะ | en_US |
dc.subject | ไขมัน | en_US |
dc.title | ผลของวิธีการสกัดไขมันต่อสมบัติทางเคมีและกายภาพของไขมัน และแป้งจากเมล็ดเงาะ | en_US |
dc.title.alternative | Effect of Fat Extraction Methods on Physical and Chemical Properties of Fat and Flour from Rambutan Seed | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
Appears in Collections: | วิทยานิพนธ์ (Thesis - HET) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
RMUTT-154588.pdf | Effect of Fat Extraction Methods on Physical and Chemical Properties of Fat and Flour from Rambutan Seed | 11.25 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.