Please use this identifier to cite or link to this item:
http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/3063
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | รุจิรา เดชสูงเนิน | |
dc.date.accessioned | 2018-02-10T12:49:35Z | |
dc.date.accessioned | 2020-09-24T04:11:46Z | - |
dc.date.available | 2018-02-10T12:49:35Z | |
dc.date.available | 2020-09-24T04:11:46Z | - |
dc.date.issued | 2559 | |
dc.identifier.uri | http://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/handle/123456789/3063 | - |
dc.description | ผลของวัสดุในการย่อยสลายกิ่งไม้ที่ย่อยแห้งต่อการเจริญเติบโตของไม้ประดับในกระถาง | TH |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาการทำปุ๋ยหมักจากเศษวัสดุต่างๆ เช่น กิ่งไม้ที่ย่อยแล้วทั้งสดและแห้ง ปุ๋ยคอก ผักตบชวา และ พด.1 โดยแต่ละชุดการทดลองได้ทดสอบในแปลงขนาด กว้าง 1 เมตร ยาว 4 เมตร สูง 1 ซึ่งใส่วัสดุเป็นชั้นๆสลับกันจำนวน 4 ชุดการทดลอง และวางแผนการทดลองแบบ Randomized Complete Block Design (RCBD) จำนวน 4 ซ้ำ พบว่าปุ๋ยหมักที่ได้จากการย่อยสลายกิ่งไม้ในแต่ละชุดการทดลองมีค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH) 6.8-7.0 นอกจากนี้ในปุ๋ยหมักยังพบว่ามีธาตุอาหารที่จำเป็น ได้แก่ ธาตุไนโตรเจน (N) ร้อยละ 1.25-1.59 ธาตุฟอสฟอรัส (P) ร้อยละ 0.59-0.92 และธาตุโพแตสเซียม (K) ร้อยละ 0.56-0.98 ซึ่งปริมาณธาตุอาหารดังกล่าวมีความเหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของพืช หลังจากนั้นนำปุ๋ยหมักแต่ละชุดการทดลองมาผสมกับดินสำหรับปลูกต้นเขียวหมื่นปี (Aglaonena modestum Schott.) วงศ์ ARACEAE พบว่าในช่วงเดือนแรกของการปลูกเลี้ยงต้นเขียวหมื่นปีมีการเจริญเติบโตค่อนข้างช้าและใบมีสีเหลือง ในขณะที่ต้นเขียวหมื่นปีมีการเจริญเติบโตดีและใบมีสีเขียวเข้มเป็นมันหลังปลูกเลี้ยงต่อเป็นเวลา 2 เดือน ดังนั้นระยะเวลาที่เหมาะสมที่สุดสำหรับการย่อยสลายเศษวัสดุต่างๆก่อนนำไปใช้ประโยชน์คือประมาณ 60-90 วัน | TH |
dc.description.abstract | The purpose of this research was to study the composed fertilizers made from fresh and dried manure, water hyacinth and super accelerator No. 1. Each treatment was tested in the compost bed size; 1 meter x 4 meter x 1 meter (width x length x height) that contained the composing materials through layer by layer. The experiment was performed by 4 treatments and then conducted to repeat using the Randomized Complete Block Design (RCBD) for 4 times. The results showed that the compost obtained from the degradation of the twigs in each treatment has a pH of 6.8-7.0. Moreover, these composed fertilizers showed the nitrogen content (1.25-1.59%), phosphorus content (0.59-0.92%) and potassium content (0.56-0.98%), which is suitable for plant growth. After that each composed fertilizer was mixed with soil and then used for growing Chinese evergreen (Aglaonena modestum Schott., ARACEAE). We found that plant growth during the first month was slow and their leaves were yellow. Whereas, the cultivated plants were growing well and their leaves turned to shiny emerald green after 2 months of culture. Therefore, the optimal time for the degradation of various composting materials before use is about 60-90 days. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี | en_US |
dc.subject | การย่อยสลาย | en_US |
dc.subject | ไม้ประดับในกระถาง | en_US |
dc.title | ผลของวัสดุในการย่อยสลายกิ่งไม้ที่ย่อยแห้งต่อการเจริญเติบโตของไม้ประดับในกระถาง | en_US |
dc.title.alternative | The effect of material degradation, small dry twigs on the growth of plants in pots. | en_US |
dc.type | Other | en_US |
Appears in Collections: | วิจัย (Research - BAD) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
2560_Rujira_Research.pdf | The effect of material degradation, small dry twigs on the growth of plants in pots. | 3.92 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.