Please use this identifier to cite or link to this item: http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/3138
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorกฤศณัฎฐ์ ม่วงงาม
dc.date.accessioned2018-04-24T02:46:28Z
dc.date.accessioned2020-09-24T04:49:28Z-
dc.date.available2018-04-24T02:46:28Z
dc.date.available2020-09-24T04:49:28Z-
dc.date.issued2559
dc.identifier.urihttp://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/handle/123456789/3138-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบผลการใช้วิจารณญาณผ่านเว็บแอพพลิเคชั่น 2 แบบของผู้เรียนระหว่างเว็บแอพพลิเคชั่นแบบการไม่มีส่วนร่วม และเว็บแอพพลิเคชั่นแบบการมีส่วนร่วม และ 2) ศึกษาความพึงพอใจของพนักงานบริษัทสบายดีทีวีที่มีต่อการเรียนรู้ผ่านเว็บแอพพลิเคชั่นบนโทรศัพท์เคลื่อนที่ที่มีต่อการใช้วิจารณญาณในการรับชมสื่อของพนักงานบริษัทสบายดีทีวี กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ พนักงานบริษัทสบายดีทีวี จำนวน 30 คน ซึ่งได้มาจาก การสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ประกอบด้วย เว็บแอพพลิเคชั่นแบบการไม่มีส่วนร่วม บนโทรศัพท์เคลื่อนที่ และเว็บแอพพลิเคชั่นแบบการมีส่วนร่วมบนโทรศัพท์เคลื่อนที่ แบบประเมิน วิจารณญาณในการรับชมสื่อของพนักงานบริษัทสบายดีทีวี แบบสอบถามความพึงพอใจ ผลการวิจัยพบว่า คุณภาพของเว็บแอพพลิเคชั่นทั้ง 2 แบบบนโทรศัพท์เคลื่อนที่ที่มีต่อการ ใช้วิจารณญาณในการรับชมสื่อของพนักงานบริษัทสบายดีทีวี มีคุณภาพอยู่ในระดับดีมาก ผลการใช้ วิจารณญาณผ่านเว็บแอพพลิเคชั่นแบบการมีส่วนร่วม มีวิจารณญาณสูงกว่าการเรียนรู้ผ่านเว็บ แอพพลิเคชั่นแบบการไม่มีส่วนร่วม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ความพึงพอใจของพนักงาน บริษัทสบายดีทีวี ที่มีต่อการเรียนรู้ผ่านเว็บแอพพลิเคชั่นบนโทรศัพท์เคลื่อนที่ที่มีต่อการใช้ วิจารณญาณในการรับชมสื่อของพนักงานบริษัทสบายดีทีวี อยู่ในระดับมากen_US
dc.description.abstractThe objectives of this study were to 1) compare the results of these applications, and 2) find out Sabaidee TV’s employees’ satisfaction. Thirty samples of Sabaidee TV’s employees were randomly chosen. The research instruments included web applications with and without comments and a questionnaire comprising a multiple choice question and a free response question type. The findings revealed that these two web applications highly affected the samples’ media consumption. The results of consideration of application with comments was higher than that without comments at a significant difference level of 0.5 whereas the employees’ satisfaction towards the use of mobile applications yielded a high level.
dc.language.isoThaien_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม. สาขาวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา.en_US
dc.subjectเว็บแอพพลิเคชั่นen_US
dc.subjectการคิดอย่างมีวิจารณญาณen_US
dc.titleผลการใช้เว็บแอพพลิเคชั่น 2 แบบ บนสมาร์ทโฟนที่มีต่อการใช้วิจารณญาณในการรับชมสื่อของพนักงานบริษัทสบายดีทีวีen_US
dc.title.alternativeResult of web application 2 models via smartphone to effect critical thinking to watching media of employee at Sabaidee TV company limiteden_US
dc.typeThesisen_US
Appears in Collections:วิทยานิพนธ์ (Thesis-TECHED)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
RMUTT-156689.pdfResult of web application 2 models via smartphone to effect critical thinking to watching media of employee at Sabaidee TV company limited3.35 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.