Please use this identifier to cite or link to this item: http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/319
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorกอปร์พร วัฒนะภูติ
dc.contributor.authorชาติชาย โยเหลา
dc.contributor.authorรุ้งสวรรค์ วรรณสุทธิ์
dc.contributor.authorพรพนม คำมุงคุณ
dc.contributor.authorโดมินิค บลาช
dc.date.accessioned2012-01-20T04:40:49Z
dc.date.accessioned2020-09-24T07:35:08Z-
dc.date.available2012-01-20T04:40:49Z
dc.date.available2020-09-24T07:35:08Z-
dc.date.issued2551
dc.identifier.urihttp://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/handle/123456789/319-
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการใช้หลักสูตรอบรมด้านจริยธรรมและสวัสดิภาพสัตว์ ในการปรับทัศนคติต่อสัตว์ต่าง ๆ ต่อสัตว์ รวมถึงความตระหนักด้านคุณธรรมและจริยธรรมในการใช้สัตว์ ของนักศึกษาสาขาสัตวศาสตร์ในมหาวิทยาลัยของรัฐ 6 แห่ง เพื่อสร้างเสริมให้มีค่านิยมทัศนคติและจริยธรรมทางวิชาชีพที่ถูกต้องเหมาะสม โดยการพัฒนาสื่อการสอนซึ่งมีเนื้อหาจากหลักสูตรรายวิชาเลือก จริยธรรมและสวัสดิภาพสัตว์ ของสาขาสัตวศาสตร์ คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 2550 เพื่อใช้สอนนักศึกษา โดยใช้แบบสอบถาม 4 ชุด ประกอบด้วย แบบประเมินคุณธรรมและจริยธรรมส่วนบุคคล EPQ (Ethical Position Questionnaire) แบบวัดความเข้าใจและการยอมรับของคนต่อการมีความรู้สึกและมีสติรู้ตัวของสัตว์ AMS (Animal Mental Survey) และแบบสำรวจทัศนคติความคิดเห็นต่อความเจ็บปวดของสัตว์ ATT (Attitude Towards Treatment of Animal) และแบบสำรวจความคิดเห็นและการยอมรับในการใช้สัตว์เพื่อวัตถุประสงค์ต่าง ๆ AAS (Attitude Towards Animal Scale) รวมทั้งคำถามเกี่ยวกับข้อมูลพื้นฐาน เช่น อายุ เพศ อาชีพบิดามารดา จำนวนสัตว์เลี้ยง ถิ่นที่อยู่ (ในเมืองหรือชนบท) และการเข้าร่วมกิจกรรมทางศาสนา ในการประเมินจริยธรรมในการใช้สัตว์ทั้งก่อนและหลังการอบรม ของนักศึกษาสาขาสัตวศาสตร์ในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลและมหาวิทยาลัยของรัฐอื่น รวม 6 แห่ง จำนวน 160 คนen_US
dc.description.abstractThe aim of the research is to investigate the use of animal ethics and welfare curriculum to improve attitudes toward animals and the awareness in animal ethics and welfare of Animal Science students in six public universities. The tools used were and 4 attitude scale surveys; Ethical Position Questionnaire (EPQ), Animal Mental Survey (AMS), Attitude Towards Treatment of Animal (ATT) and Attitude Towards Animal Scale (AAS). Demographic information such as age, gender, occupation of parents, number of pets, geographic region of origin (rural or urban area) and religious affiliation were also collected from 160 students from 4 Rajamangala University of Technology and 2 other public universities
dc.language.isoThaien_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรีen_US
dc.subjectจริยธรรมของผู้เรียน--การศึกษาและการสอน [อุดมศึกษา] -- วิจัยen_US
dc.subjectนักศึกษา -- แง่ศีลธรรมจรรยาen_US
dc.titleการพัฒนาจริยธรรมทางวิชาชีพสัตวศาสตร์ : กรณีศึกษา - การใช้หลักสูตรจริยธรรมและสวัสดิภาพสัตว์เพื่อปรับทัศนคติต่อสัตว์ของนักศึกษาสาขาสัตวศาสตร์en_US
dc.title.alternativeDevelopment of professional animal ethics : a case study - using animal ethics and welfare to improve attitude towards animals of animal science studentsen_US
dc.typeResearchen_US
Appears in Collections:วิจัย (Research - AGR)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
02.Abstract.pdfDevelopment of professional animal ethics : a case study - using animal ethics and welfare to improve attitude towards animals of animal science students267.67 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.