Please use this identifier to cite or link to this item: http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/326
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorอัญชลี สวาสดิ์ธรรม
dc.contributor.authorไฉน น้อยแสง
dc.date.accessioned2012-01-20T09:20:22Z
dc.date.accessioned2020-09-24T04:57:39Z-
dc.date.available2012-01-20T09:20:22Z
dc.date.available2020-09-24T04:57:39Z-
dc.date.issued2547
dc.identifier.urihttp://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/handle/123456789/326-
dc.description.abstract1. การศึกษาเปรียบเทียบผลของสารสกัดจากเหง้าข่า (Alpinia galangal L.) ด้วยน้ำกลั่น (volatile oil) และในตัวทำลายแต่ละชนิดประกอบด้วย methanol, ethyl acetate และ n-hexanc ที่ ระดับความเข้มข้น 1, 0.7 และ 0.5% โดยมีสิ่งทดลองควบคุมคือ แอลกอฮอล์ 70% แอลกอฮอล์ 80% แอลกอฮิล์ 90 % และน้ำกลั่นต่อหนอนกระทู้ผักวัยที่ 3 และหนอนในผักวันที่ 2 ที่ 24, 48 และ 72 ชั่วโมง ผลของสารสกัดต่อหนอนกระทู้ผักภายหลังได้รับสาร 24 ชั่วโมง พบว่า สารสกัดจากข่าด้วยน้ำกลั่น (volatile oil) ที่ระดับความเข้มข้น 1% มีผลทำให้หนอนกระทู้ผักรอดตายน้อยที่สุดเฉลี่ย 11.50 รองลงมาคือ สารสกัดจากข่าด้วย ethyl acetate ที่ระดับความเข้มข้น 1% มีผลทำให้หนอนกระทู้ผักรอดเฉลี่ย 18.25 ตัว สำหรับสิ่งทอดลองอื่นๆ ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติกับสิ่งทดลองเปรียบเทียบ ผลของสารสกัดต่อหนอนใยผักวันที่ 2 ภายหลังได้รับสาร 24 ชั่วโมง พบว่า สิ่งทดลองสาร volatile oil 1% มีจำนวนหนอนที่รอดตายน้อยที่สุด คือ 10.25 รองลงมาคือ สิ่งทดลองสาร volatile oil ที่ระดับความเข้มข้น 0.7% และ 0.5% ส่วนการทดลองอื่นๆ ทำให้หนอนรอดตายภายในปริมาณใกล้เคียงกัน ผลการเปรียบเทียบสารสกัดหยาบ ด้วยแอลกอฮอล์ 80% จากข่า 3 แหล่ง คือ จังหวัดตราด จังหวัดปทุมธานี และจังหวัดชัยภูมิ ที่ระดับความเข้มข้น 25 % และ 50% โดยมีน้ำกลั่นและแอลกอฮอล์ 80% เป็นสิ่งทดลองควบคุมต่อหนอนกระทู้ผักภายหลังการรับสาร 24, 48 และ 72 ชั่วโมง พบว่า สารสกัดหยาบข่าจาก จังหวัดตราด ที่ระดับความเข้มข้น 50% ทำให้หนอนกระทู้ผักรอดน้อยที่สุด และ แตกต่างทางสถิติกับสิ่งทดลองอื่น ๆ ผลของสารสกัดหยาบข่า ที่ระดับความเข้มข้น 10 15 20 โดยมีสิ่งทดลองควบคุมคือแอลกอฮอล์ 80 และน้ำกลั่นต่อหนอนใยวผักที่ 24, 48 และ 72 ชั่วโมง ภายหลังได้รับสาร พบว่าสารสกัดหยาบข่าที่ความเข้มข้น 15 และ 20 ทำให้หนอนใยผักรอดตายน้อยที่สุด และทิ้งสองสิ้งทดลองแตกต่างทางสถิติสิ่งทดลองอื่น ๆen_US
dc.language.isoThaien_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี .วิทยาเขตปทุมธานีen_US
dc.subjectข่า -- วิจัยen_US
dc.subjectข่า--การแปรรูปอาหารen_US
dc.subjectอาหารแปรรูปen_US
dc.subjectการเกษตรen_US
dc.titleการศึกษาศักยภาพของข่าเพื่อประโยชน์ทางการเกษตรและแปรรูปอาหาร โครงการย่อยที่ 1 การใช้ประโยชน์จากข่า[Alpinia sp.] เพื่อสควบคุมแมลงศัตรูคะน้าen_US
dc.typeResearchen_US
Appears in Collections:วิจัย (Research)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
02.Abstract.pdfการศึกษาศักยภาพของข่าเพื่อประโยชน์ทางการเกษตรและแปรรูปอาหาร โครงการย่อยที่ 1 การใช้ประโยชน์จากข่า[Alpinia sp.] เพื่อสควบคุมแมลงศัตรูคะน้า255.23 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.