Please use this identifier to cite or link to this item:
http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/327
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | อัญชลี สวาสดิ์ธรรม | |
dc.contributor.author | รุ่งโรจน์ เจริญโพธิ์ | |
dc.contributor.author | ชาญณรงค์ ยางส่ง | |
dc.contributor.author | วิศิษฐ์ ธนูอาจ | |
dc.date.accessioned | 2012-01-23T01:55:11Z | |
dc.date.accessioned | 2020-09-24T04:57:39Z | - |
dc.date.available | 2012-01-23T01:55:11Z | |
dc.date.available | 2020-09-24T04:57:39Z | - |
dc.date.issued | 2546 | |
dc.identifier.uri | http://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/handle/123456789/327 | - |
dc.description.abstract | ชันโรง Trigona pegdeni Salawarz เป็นชันโรงชนิดเดียวในปัจจุบัน ที่ถูกเลี้ยงเพื่อประโยชน์ในการเก็บน้ำผึ้ง และใช้เป็นแมลงผสมเกสร แต่ในปัจจุบันผู้เลี้ยงชันโรงยังประสบปัญหา ในการเพาะเลี้ยง ดังนั้นการทดลองนี้จึงมีจุดประสงค์ ที่จะศึกษาชีววิทยา และวิธีการเพาะเลี้ยงชันโรงชนิดนี้ เพื่อนำไปสู่การเพาะเลี้ยงที่มีประสิทธิภาพ เพื่อนำไปใช้ประโยชน์ในด้านต่าง ๆ ทำการทดลองระหว่าง พ.ศ. 2545 – 2548 ที่ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลธัญบุรี วิทยาเขตปทุมธานี และที่สวนเกษตรกร อำเภอมะขาม จังหวัดจันทบุรี ผลการศึกษาชีววิทยาพบว่า ชันโรงชนิดนี้มักอาศัยในโพรงธรรมชาติเหนือดิน ทั้งในโพรงในตันไม้และในอาคาร โดยมีปากทางเข้ารังเป็นท่อสั้น ๆ ถ้วยตัวอ่อนและถ้วยอาหารมีลักษณะเป็นกลุ่ม ( Cluster type ) ไม่มีการสร้างชันหุ้มถ้วยตัวอ่อน ( involucrum ) วงจรชีวิตของชันโรงชนิดนี้ มีระยะไข่ 7 วัน มีระยะหนอน 4 ระยะ ใช้ระยะเวลา 19 วัน ระยะดักแด้ 3 ระยะ ใช้เวลา 22 วัน และตัวเต็มวัยมีอายุ 35 วัน ผลการศึกษาวิธีการเพาะเลี้ยงชันโรง T. pegdeni พบว่าการแยกรังใหม่โดยการใส่ถ้วยต้วอ่อน และถ้วยอาหารในปริมาณอย่างน้อย 30 – 40 กรัมขึ้นไป และในรังใหม่ควรมีนางพญา หรือ ถ้วยนางพญา พร้อมด้วยตัวเต็มวัยที่อยู่ในรัง และตัวเต็มวัยระยะที่ออกหาอาหารนอกรังในปริมาณที่เพียงพอ | en_US |
dc.description.abstract | In Thailand, Nowadays only stingless bee Trigona pegdeni Salawarz is cultured for specific purposes namely honey harvesting and insect pollinator. Anyway culture procedure of this stingless bee is still a major problem for stingless beekeeper. This experiment was aimed to study its biology and effective methods to culture it. These experiments were conducted at Rajamangala University of Technology Thunyaburi Pathumthani Campus and Chantaburi province in 2002 – 2005. The result of biology studies showed that the nest of this stingless bee is in located natural cavity obove the ground such as in a tree trunk or in the building. Nest entrance is tube – like while brood cells and storage cells are cluster type, without involucrum. Life cycle was as follows : Egg stage, larva stage with 4 instars, pupa stage with 3 stages and life span of adults took 7, 19, 22 and 35 days respectively. The result of culture method studies showed that the effective way to split the hive was not only put brood cells and storage cells at least 30 – 40 grams but also put queen or queen cell. Inaddition, nurse bees and field bees were also needed for new hive. | |
dc.language.iso | Thai | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี .วิทยาเขตปทุมธานี | en_US |
dc.subject | ชันโรง--วิจัย | en_US |
dc.subject | ชันโรง--การเลี้ยง--วิจัย | en_US |
dc.subject | การเพาะเลี้ยง | en_US |
dc.title | การเพาะเลี้ยงชันโรงเพื่อใช้เป็นแมลงผสมเกสรและเพื่อการค้า | en_US |
dc.title.alternative | Culture of stingless bee for using as insect pollinator and for commercial hive | en_US |
dc.type | Research | en_US |
Appears in Collections: | วิจัย (Research) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
02.Abstract.pdf | Culture of stingless bee for using as insect pollinator and for commercial hive | 190.69 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.