Please use this identifier to cite or link to this item: http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/329
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorรุ้งสวรรค์ วรรณสุทธิ์
dc.contributor.authorชาติชาย โยเหลา
dc.contributor.authorอรัญญา ภู่รอด
dc.contributor.authorสมใจ เปรมสมิทธ์
dc.contributor.authorอรทัย สารกุล
dc.contributor.authorเบญจวรรณ ศฤงคาร
dc.date.accessioned2012-01-23T03:11:07Z
dc.date.accessioned2020-09-24T04:58:36Z-
dc.date.available2012-01-23T03:11:07Z
dc.date.available2020-09-24T04:58:36Z-
dc.date.issued2551
dc.identifier.urihttp://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/handle/123456789/329-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมาย 1. เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรการอบรมเลี้ยงดูแบบรักสนับสนุน อิทธิบาท 4 แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ และความเชื่ออำนาจในตน กับพฤติกรรมการปฏิบัติงานของนักศึกษา สาขาการแพทย์แผนไทยประยุกต์ 2. เพื่อสร้างและพัฒนาชุดฝึกอบรมเพื่อพัฒนาแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ และความเชื่ออำนาจภายในตน สำหรับนักศึกษาสาขาการแพทย์แผนไทยประยุกต์ 3.ประเมินผลการใช้ชุดฝึกอบรมเพื่อพัฒนาแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ ความเชื่ออำนาจในตน และพฤติกรรมการปฏิบัติงาน แตกต่างจากก่อนรับการอบรมหรือไม่ การดำเนินการวิจัยแบ่งเป็น 2 ระยะโดยระยะแรกเป็นการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรทางด้านสถานการณ์ทางสังคม และจิตลักษณะต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการปฏิบัติงานของนักศึกษา เพื่อพิจารณาคัดเลือกตัวแปรเพื่อนำมาใช้ในการพัฒนาพฤติกรรมการปฏิบัติงานของนักศึกษา สำหรับระยะที่ 2 เป็นการสร้างชุดฝึกอบรมเพื่อพัฒนาจิตลักษณะที่มีความเกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการปฏิบัติงานของนักศึกษา กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาสาขาการแพทย์แผนไทยประยุกต์แบ่งเป็นการศึกษาในระยะที่ 1 จำนวน 153 คนและการศึกษาในระยะที่ 2 จำนวน 60 คน โดยแบ่งเป็น 4 กลุ่ม กลุ่มละ 15 คน คือ กลุ่มที่ 1 ฝึกแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ ร่วมกับความเชื่ออำนาจในตน กลุ่มที่ 2 ฝึกความเชื่ออำนาจในตน กลุ่มที่ 3 ฝึกแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ และกลุ่มที่ 4 ฝึกกิจกรรมอื่น(กลุ่มควบคุม)เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ประกอบด้วย แบบสอบถามลักษณะทางชีวสังคม แบบวัดการอบรมเลี้ยงดูแบบรักสนับสนุน แบบวัดอิทธิบาท 4 แบบวัดแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ แบบวัดความเชื่ออำนาจในตนและ แบบวัดพฤติกรรมการปฏิบัติงานของนักศึกษา สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อทดสอบสมมติฐาน ได้แก่ ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์, t-test และ Two Way Analysis of Variance ...en_US
dc.language.isoThaien_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. วิทยาลัยการแพทย์แผนไทยen_US
dc.subjectนักศึกษา -- พฤติกรรม -- วิจัยen_US
dc.titleการพัฒนาพฤติกรรมในการปฏิบัติงานของนักศึกษาสาขาการแพทย์แผนไทยประยุกต์ : กรณีศึกษา – วิทยาลัยการแพทย์แผนไทยen_US
dc.title.alternativeDevelopment of work behavior of applied thai traditional medicine students : a case study - thai traditional medicine collegeen_US
dc.typeResearchen_US
Appears in Collections:วิจัย (Research - TMC)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
02.Abstract.pdfDevelopment of work behavior of applied thai traditional medicine students : a case study - thai traditional medicine college530.17 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.