Please use this identifier to cite or link to this item: http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/3301
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorสยุมภู เหมือนนิรุทธ์
dc.date.accessioned2018-10-31T07:04:53Z
dc.date.accessioned2020-09-24T04:49:55Z-
dc.date.available2018-10-31T07:04:53Z
dc.date.available2020-09-24T04:49:55Z-
dc.date.issued2560
dc.identifier.urihttp://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/handle/123456789/3301-
dc.description.abstractการวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาการบริหารงานของผู้บริหารสถานศึกษาขนาด เล็ก สำนักงานพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอ่างทอง 2) ศึกษาการบริหารเชิงกลยุทธ์ในสถานศึกษา สา นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอ่างทอง 3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารงานของ ผู้บริหารสถานศึกษาขนาดเล็กกับการบริหารเชิงกลยุทธ์ในสถานศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาอ่างทอง ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ผู้อำนวยการสถานศึกษา จำนวน 96 คน ใน สถานศึกษาขนาดเล็ก สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอ่างทอง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เป็นแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ ค่าค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยครั้งนี้พบว่า 1) การบริหารงานของผู้บริหารสถานศึกษาขนาดเล็ก สำนักงานเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอ่างทอง โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก 2) การบริหารเชิงกลยุทธ์ใน สถานศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอ่างทอง โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก และ 3) ความสัมพันธ์การบริหารงานของผู้บริหารสถานศึกษาขนาดเล็กกับการบริหารเชิงกลยุทธ์ใน สถานศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอ่างทอง พบว่า โดยภาพรวมมีความสัมพันธ์ใน ทางบวกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01en_US
dc.description.abstractThe objectives of this research were: 1) to study the administration of small-size school administrators under Angthong Primary Educational Service Area Office, 2) to study the strategic management in schools under Angthong Primary Educational Service Area Office, and 3) to study the relationship between the administration of small-size school administrators and the strategic management in schools under Angthong Primary Educational Service Area Office. The population used in this study was 96 small-size school administrators under Angthong Primary Educational Service Area Office. The research instrument was a five-rating scale questionnaire. The statistics used to analyze the data were frequency, percentage, mean, standard deviation, and Pearson Product Moment Correlation Coefficient. The results of this research were as follows: 1) the administration of small-size schools administrators under Angthong Primary Educational Service Area Office was at a high level for overall aspects, 2) the strategic management in schools under Angthong Primary Educational Service Area Office was at a high level for overall aspects, and 3) the relationship between the administration of small-size school administrators and the strategic management in schools under Angthong Primary Educational Service Area Office was overall positive with a statistical significance at the level of .01.
dc.publisherมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม. สาขาวิชาการบริหารการศึกษา.en_US
dc.subjectการบริหารงานen_US
dc.subjectการบริหารเชิงกลยุทธ์en_US
dc.subjectสถานศึกษาขนาดเล็กen_US
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารงานของผู้บริหารสถานศึกษาขนาดเล็กกับการบริหารเชิงกลยุทธ์ในสถานศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอ่างทองen_US
dc.title.alternativeThe relationship between the administration of small-size school administrators and the strategic management in schools under Angthong primary educational service area officeen_US
dc.typeThesisen_US
Appears in Collections:วิทยานิพนธ์ (Thesis-TECHED)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
RMUTT-158603.pdfThe relationship between the administration of small-size school administrators and the strategic management in schools under Angthong primary educational service area office3.57 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.