Please use this identifier to cite or link to this item: http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/3305
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorเกตุสุดา กิ้งการจร
dc.date.accessioned2018-11-07T02:45:18Z
dc.date.accessioned2020-09-24T04:49:54Z-
dc.date.available2018-11-07T02:45:18Z
dc.date.available2020-09-24T04:49:54Z-
dc.date.issued2560
dc.identifier.urihttp://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/handle/123456789/3305-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหาร สถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 4 สระบุรี และ 2) เปรียบเทียบระดับ ภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 4 สระบุรี จำแนกตามขนาดโรงเรียน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ ครูผู้สอน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยม ศึกษา เขต 4 สระบุรี จำนวน 300 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม สถิติที่ ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ และค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการ วิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-way ANOVA) ผลการวิจัยพบว่า 1) ภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขต พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 4 สระบุรี โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า ด้านการสื่อสารเป้าหมายของโรงเรียน มีค่าเฉลี่ยสูงสุด รองลงมา ได้แก่ ด้านการนิเทศและ ประเมินผลด้านการสอน และด้านการจัดให้มีสิ่งเสริมสภาพการเรียนรู้ มีค่าเฉลี่ยต่ำที่สุด และ 2) ผล การเปรียบเทียบภาวะผู้นำ ทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 4 สระบุรี จำแนกตามขนาดโรงเรียน โดยรวมและรายด้าน แตกต่างกันอย่างมี นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ยกเว้น ด้านการกำหนดเป้าหมายของโรงเรียน และด้านการควบคุมการ ใช้เวลาในการสอน ที่ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05en_US
dc.description.abstractThe objectives of this research were 1) to study the level of the academic leadership of the school administrators under the supervision of Saraburi Secondary Educational Service Area Office 4, and 2) to compare the level of academic leadership of Saraburi Secondary Educational Service Area Office 4 classified by school size. The samples used in this study were 300 teachers under the supervision of Saraburi Secondary Educational Service Area Office 4. The research instrument was questionnaire. The statistics used to analyze data were frequency, percentage, mean, standard deviation, and one-way ANOVA. The research results showed that 1) the level of the school administrators under the supervision of Saraburi Secondary Educational Service Area Office 4 was at the high level as a whole aspect and each aspect. When considering each aspect, it was found that the communication on school goals was at the highest average level. The supervision and teaching evaluation was at the high average respectively. The promotion of learning conditions had the lowest average level. 2) The result of the comparison of academic leadership level of school administrators of Saraburi Secondary Educational Service Area Office 4 classified by school size was significantly different at the .05 level. However, the aspects of the school target and the control of teaching time were not significantly different at the level .05 level.
dc.publisherมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม. สาขาวิชาการบริหารการศึกษา.en_US
dc.subjectภาวะผู้นำen_US
dc.subjectทางวิชาการen_US
dc.subjectผู้บริหารสถานศึกษาen_US
dc.titleภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 4 สระบุรีen_US
dc.title.alternativeAcademic leadership of the school administrators under the supervision of Saraburi secondary educational service area office 4en_US
dc.typeThesisen_US
Appears in Collections:วิทยานิพนธ์ (Thesis-TECHED)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
RMUTT-158608.pdfAcademic leadership of the school administrators under the supervision of Saraburi secondary educational service area office 43.09 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.