Please use this identifier to cite or link to this item: http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/3478
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorสุมาลี คำสว่าง
dc.date.accessioned2019-11-19T08:16:24Z
dc.date.accessioned2020-09-24T04:50:29Z-
dc.date.available2019-11-19T08:16:24Z
dc.date.available2020-09-24T04:50:29Z-
dc.date.issued2561
dc.identifier.urihttp://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/handle/123456789/3478-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภูมิศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 ระหว่างกลุ่มทดลองที่เรียนด้วยรูปแบบการสอนซิปปา ร่วมกับ รูปแบบร่วมมือเทคนิคจิ๊กซอว์กับกลุ่มควบคุมที่เรียนด้วยวิธีสอนแบบปกติ 2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนวิชาภูมิศาสตร์ ด้วยรูปแบบการสอนซิปปาร่วมกับรูปแบบร่วมมือเทคนิคจิ๊กซอว์ของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 กลุ่มทดลองกับเกณฑ์ร้อยละ 75 3) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 2 กลุ่มทดลองที่มีต่อการเรียนวิชาภูมิศาสตร์ ด้วยรูปแบบการสอนซิปปา ร่วมกับ รูปแบบร่วมมือเทคนิคจิ๊กซอว์ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล คือ แผนการจัดการเรียนรู้ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน และแบบสอบถามความพึงพอใจ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบสมมติฐานโดยใช้สถิติค่าที ซึ่งกลุ่มทดลองที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2/10 , 2/11 ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2561 โรงเรียนอ่างทองปัทมโรจน์ วิทยาคม ผลการวิจัยพบว่า 1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภูมิศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 ที่เรียนด้วยรูปแบบการสอนซิปปา ร่วมกับรูปแบบร่วมมือเทคนิคจิ๊กซอว์ หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 ที่เรียนด้วยรูปแบบการสอนโมเดลซิปปา ร่วมกับเทคนิคจิ๊กซอว์ สูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 75 3) ความ พึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 กลุ่มทดลองที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ วิชาภูมิศาสตร์ ด้วยรูปแบบการสอนซิปปาร่วมกับรูปแบบร่วมมือเทคนิคจิ๊กซอว์ อยู่ในระดับมากen_US
dc.description.abstractThis research aimed to : 1) compare grade 8 students’ learning achievement in the subject Geography before and after their participation in the learning management using the Cippa Model with the jigsaw cooperative learning technique between the experimental group and the controlled group, 2) compare this learning management by using the Cippa Model with the jigsaw cooperative learning technique in the experimental group with 75 percentage criteria, and 3) study the students’ satisfaction toward this management. The research instruments included the lesson plans, the learning achievement test and the satisfaction questionnaire. The collected data were analyzed by mean (x̅), standard deviation (SD), percentage, frequency, content analysis and t-test dependent. The experimental group was 2/10 and 2/11 grade 8 students in the second semester of academic year 2018 at Angthong Pattarot wittayakhom School. The results showed that 1) the students’ achievement in Geography after using the Cippa model with the jigsaw technique was higher at the statistical significance level of .05; 2) their learning achievement by using the Cippa Model with the jigsaw technique was higher than the 75 percent criteria, and 3) the students had high satisfaction toward this learning managementen_US
dc.language.isoThaien_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม. สาขาวิชาการพัฒนาหลักสูตรและนวัตกรรมการสอนen_US
dc.subjectรูปแบบการสอนโมเดลซิปปาen_US
dc.subjectเทคนิคจิ๊กซอว์en_US
dc.subjectผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนen_US
dc.subjectความพึงพอใจen_US
dc.titleการจัดการเรียนรู้ด้วยรูปแบบซิปปาร่วมกับรูปแบบร่วมมือเทคนิคจิ๊กซอว์เพื่อส่งเสริมผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภูมิศาสตร์สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2en_US
dc.title.alternativeLearning Management by Using the Cippa Model with the Jigsaw Cooperative Learning Technique to Encourage Learning Achievement of Geography Subject for Secondary 2 (Grade 8) Studentsen_US
dc.typeThesisen_US
Appears in Collections:วิทยานิพนธ์ (Thesis-TECHED)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
RMUTT-160393.pdfLearning Management by Using the Cippa Model with the Jigsaw Cooperative Learning Technique to Encourage Learning Achievement of Geography Subject for Secondary 2 (Grade 8) Students3.35 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.