Please use this identifier to cite or link to this item: http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/3591
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorนงเยาว์ ขัติวงษ์
dc.date.accessioned2020-03-13T04:47:12Z
dc.date.accessioned2020-09-24T04:55:52Z-
dc.date.available2020-03-13T04:47:12Z
dc.date.available2020-09-24T04:55:52Z-
dc.date.issued2562
dc.identifier.urihttp://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/handle/123456789/3591-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาช่องทางในการรับรู้สื่อประชาสัมพันธ์ ที่ส่งผลต่อการเข้าศึกษาต่อ ในระดับปริญญาตรี ของนักศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี กลุ่มตัวอย่าง ที่ใช้วิจัยครั้งนี้ คือ นักศึกษา ชั้นปีที่ 1 มหาวิทยาเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ปีการศึกษา 2562 โดยกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างตามตารางของทาโร ยามาเน่ ที่ระดับความเชื่อมั่น 90% ได้จำนวนกลุ่มตัวอย่างอย่างน้อย 99 คน เนื่องจากในมหาวิทยาลัยมีคณะทั้งหมด 11 คณะ และ 1 วิทยาลัย ดังนั้น ผู้วิจัยจึงได้เก็บข้อมูลโดยใช้วิธีการสุ่มอย่างง่าย (simple random sampling)สุ่มนักศึกษาในแต่ละคณะ มาคณะละ 10 คน รวมเป็นตัวอย่างทั้งสิ้น 120 คน เครื่องมือที่ใช้ ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าความถี่ และร้อยละ ผลการศึกษาพบว่าช่องทางในการรับรู้สื่อประชาสัมพันธ์ที่ส่งผลต่อการเข้าศึกษาต่อ ในระดับปริญญาตรีสูงสุด คือ สื่อออนไลน์ คิดเป็นร้อยละ 84.17 โดยปัจจัยที่เลือกผ่านสื่อประชาสัมพันธ์ช่องทางนี้ พบว่า เป็นสื่อที่สามารถเข้าถึงได้ง่าย สูงสุด คิดเป็นร้อยละ 40.00 รองลงมาเป็นสื่อที่สามารถทำให้รับรู้ข้อมูลข่าวสารได้อย่างรวดเร็ว และเป็นสื่อที่สามารถรับรู้ข้อมูลข่าวสารได้ตลอด 24 ชั่วโมง คิดเป็นร้อยละ 23.33 และ 21.67 ตามลำดับen_US
dc.description.abstractThe objectives of the research were to study of the channels of recognition public media that affect the admission in the under graduate level of students at Rajamangala University of Technology Thanyaburi. The sample, which was used in this research, is the first year student of Rajamangala Technology University, 2019, with a sample size according to Taro Yamane's schedule at a 90% confidence level. The 120 samples were used to collect data using simple random methods. Questionnaires was governed as the research tool.Frequency and Percentage were governed to analyze data. The results of the study revealed that the way to perceive public relations media that effected the highest bachelor degree study was online media, representing 84.17 percent. The factors chosen through this public relations media were found to be the most easily accessible media, representing 40.00 percent. Next is a medium that can make information aware quickly and being the media that can receive information 24 hours a day, representing 23.33 percent and 21.67 percent respectively.
dc.language.isoThaien_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. กองประชาสัมพันธ์.en_US
dc.subjectการรับรู้สื่อประชาสัมพันธ์en_US
dc.subjectการเข้าศึกษาต่อen_US
dc.subjectนักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรีen_US
dc.titleการศึกษาช่องทางการรับรู้สื่อประชาสัมพันธ์ ที่ส่งผลต่อการเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีของนักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรีen_US
dc.title.alternativeThe Study of the Channels of Recognition Public Media that Affect the Admission in the under Graduate Level of Students at Rajamangala University of Technology Thanyaburien_US
dc.typeResearchen_US
Appears in Collections:วิจัย (Research - PR)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
25630520_Nongyao.K_Research.pdfThe Study of the Channels of Recognition Public Media that Affect the Admission in the under Graduate Level of Students at Rajamangala University of Technology Thanyaburi1.3 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.