Please use this identifier to cite or link to this item: http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/4116
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorชิโนรส กวางแก้ว-
dc.date.accessioned2023-06-14T02:23:29Z-
dc.date.available2023-06-14T02:23:29Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttp://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/4116-
dc.description.abstractการศึกษาวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับสมรรถนะการรู้เท่าทันดิจิทัล รายวิชาเทคโนโลยี ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 และเปรียบเทียบสมรรถนะการรู้เท่าทันดิจิทัล รายวิชาเทคโนโลยี ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 หลังเรียน ระหว่างกลุ่มทดลองที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ โดยใช้โครงงานเป็นฐานผสมผสานกับกระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และกลุ่มควบคุมที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบปกติ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย เป็นนักเรียนที่กาลังศึกษาชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนเฟื่องฟ้าวิทยา สังกัดสานักงานศึกษาธิการจังหวัดปทุมธานี จานวน 69 คน ได้มาโดยใช้วิธีการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ 1) แผนการจัดการเรียนรู้แบบปกติ 2) แผนการจัดการเรียนรู้แบบการจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐานผสมผสานกับกระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ 3) แบบทดสอบวัดสมรรถนะการรู้เท่าทันดิจิทัล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ค่าเฉลี่ย (Mean) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ทดสอบสมมติฐานโดยใช้ t-test (Independent Samples) ผลการวิจัยสรุปได้ว่าสมรรถนะการรู้เท่าทันดิจิทัล รายวิชาเทคโนโลยี ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 อยู่ในระดับมาก และสมรรถนะการรู้เท่าทันดิจิทัล รายวิชาเทคโนโลยี ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ของกลุ่มทดลองที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐานผสมผสานกับกระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ หลังเรียนสูงกว่ากลุ่มควบคุมที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05en
dc.description.abstractThe objectives of this study were to study the level of digital literacy competency in Technology subject of Primary 5 (Grade 5) students and compare the digital literacy competency in Technology subject of the Primary 5 (Grade 5) between the experimental group studying in the project-based learning management with a critical thinking process and the control group studying in a traditional learning management. Sixty-nine research samples were selected by cluster sampling from Primary 5 (Grade 5) students studying at Fuangfha Wittaya School, under the Pathum Thani Provincial Education Office. Research instruments were 1) traditional learning management lesson plans, 2) project-based learning management with the critical thinking process lesson plans, and 3) a digital literacy competency test. Mean, Standard Deviation, t-test (Independent Samples) were used for data analysis. The results showed that the digital literacy competency of the experimental group was at a high level and the digital literacy competency of the experimental group was higher than the control group with statistical significance at the level of .05.en
dc.publisherมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมen
dc.subjectโครงงานเป็นฐานen
dc.subjectกระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณen
dc.subjectสมรรถนะการรู้เท่าทันดิจิทัลen
dc.titleการจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐานผสมผสานกับกระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ เพื่อพัฒนาสมรรถนะการรู้เท่าทันดิจิทัล รายวิชาเทคโนโลยี สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5en
dc.title.alternativeThe learning management of project-based learning with critical thinking process to improve digital literacy competency in technology subject for primary 5 (grade 5) studentsen
dc.typeThesisen
Appears in Collections:วิทยานิพนธ์ (Thesis-TECHED)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
RMUTT-170455.pdf4.48 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.