Please use this identifier to cite or link to this item:
http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/4266
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | ศุกัญญา อินศิริ | - |
dc.date.accessioned | 2024-01-16T02:55:40Z | - |
dc.date.available | 2024-01-16T02:55:40Z | - |
dc.date.issued | 2564 | - |
dc.identifier.uri | http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/4266 | - |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ของการส่งเสริมการร่วมรู้สึกของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาปราจีนบุรี นครนายก และ 2) นาเสนอแนวทางการส่งเสริมการร่วมรู้สึกของผู้บริหารสถานศึกษา กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้บริหาร และครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาปราจีนบุรี นครนายก จำนวน 334 คน ได้มาจากการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม แบบตอบสนองคู่ การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติในการวิจัย ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การจัดเรียงลำดับความต้องการจำเป็น (PNI Modified) และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1) สภาพปัจจุบันของการส่งเสริมการร่วมรู้สึกของผู้บริหารสถานศึกษาสถานศึกษา มีค่าเฉลี่ยโดยรวมระดับปานกลาง และสภาพที่พึงประสงค์ของการส่งเสริมการร่วมรู้สึกของผู้บริหารสถานศึกษา มีค่าเฉลี่ยโดยรวมระดับมากที่สุด และ 2) แนวทางการส่งเสริมการร่วมรู้สึกของผู้บริหารสถานศึกษา ได้แก่ (1) การเป็นผู้ฟังที่ดี ใส่ใจความรู้สึกของครู (2) การพัฒนาทักษะการสังเกต คาดการณ์การสื่อสารความคิดของครู (3) ใช้หลักคุณธรรมและจริยธรรมในการดาเนินงาน (4) มุ่งเน้นการใช้คาถามที่เหมาะสมกับสถานการณ์ และ (5) การแสดงพฤติกรรมที่ทำให้ครูรู้สึกผ่อนคลายเมื่อเผชิญปัญหา | en |
dc.description.abstract | The purposes of this research were to: 1) examine the current state and the desired state of promoting empathy of administrators under Secondary Educational Service Area Office Prachinburi Nakhon Nayok, and 2) propose guidelines to promote empathy of administrators. The sample group of this research, selected using stratified random sampling, consisted of 334 administrators and teachers in schools under Secondary Educational Service Area Office Prachinburi Nakhon Nayok. The research instrument was a dual response questionnaire. The data were analyzed by the statistical analysis of mean, and standard deviation, Priority Needs Index (PNI Modified) and content analysis. The research results revealed that: 1) the current state of promoting empathy of administrators was at the moderate level, and the desired state of promoting empathy of administrators was at the highest level. Additionally, 2) the guidelines to promoting empathy of administrators included the following items: (1) being a good listener who pays attention to the feelings of teachers, (2) developing observation skills to anticipate the communication of the teacher's thoughts, ( 3 ) applying moral principles and operational ethics, (4) focusing on the use of questions appropriate to the situation, and (5) displaying behaviors that make teachers feel relaxed when facing problems. | en |
dc.language.iso | Thai | en |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม. | en |
dc.subject | การส่งเสริม | en |
dc.subject | การร่วมรู้สึก | en |
dc.subject | ผู้บริหารสถานศึกษา | en |
dc.title | แนวทางการส่งเสริมการร่วมรู้สึกของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา ปราจีนบุรี นครนายก | en |
dc.title.alternative | Guidelines for Promoting Empathy of Administrators under Secondary Educational Service Area Office Prachinburi Nakhon Nayok | en |
dc.type | Thesis | en |
Appears in Collections: | วิทยานิพนธ์ (Thesis-TECHED) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
RMUTT-175864.pdf | Guidelines for Promoting Empathy of Administrators under Secondary Educational Service Area Office Prachinburi Nakhon Nayok | 2.55 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.