Please use this identifier to cite or link to this item: http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/4300
Title: Management of English language teaching through social media application to create motivation for learning
Other Titles: การจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษผ่านแอปพลิเคชันโซเชียลมีเดียเพื่อสร้างแรงจูงใจในการเรียนรู้
Authors: Chunyue Guo
Keywords: Technological Innovations
English language -- Study and teaching
Educational Innovations
การจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
แอปพลิเคชันโซเชียลมีเดีย
แรงจูงใจในการเรียนรู้
Issue Date: 2022
Publisher: Rajamangala university of technology Thanyaburi. Faculty of Technical Education. Learning Technology and Innovation
Abstract: The objectives of this study were to: 1) develop a social media application to expand the education function of modern internet technologies, 2) study the level of motivation of grade 6 students using social media application to enhance their spoken English achievement, and 3) compare the pretest (before-experiment) and posttest (after-experiment) of English-speaking test scores of grade 6 students using the social media for learning. The samples of the study were 95 students studying in grade 6. They were assigned into two classes as an experimental group of 47 students and a control group of 48 students. The research instruments were: 1) popular social media in People's Republic of China, 2) learning materials sent through the social media-based learning application to enhance students’ speaking abilities, 3) conformity assessment forms, 4) an assessment on grade 6 students’ speaking abilities who had learned from a social media-based application, and 5) a questionnaire on learning interest motivation. The statistical devices used in the study were mean and standard deviation. The research results revealed that: 1) the social media application enabled to expand the education function of the social media better than using a social media only for daily communication. More importantly, the social media application was used by primary school English teachers for teaching spoken English of primary school students. 2) The students’ motivation after using social media application dealt with an awareness of learning at the higher level with the average score of 3.78. The students’ participation in and out of classes was at the higher level with the average score of 3.87. The students’ confidence and satisfaction was also at the higher level with the average score of 3.88, and 3) the students who studied with social media applications (experimental group) had the higher score on the English speaking test than those in the control group with the mean score of 13.77/9.46 at the statistically significance level of .05.
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาแอปพลิเคชันโซเชียลมีเดียเพื่อขยายฟังก์ชันการศึกษาของเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตที่ทันสมัย 2) ศึกษาระดับแรงจูงใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โดยใช้แอปพลิเคชันโซเชียลมีเดียเพื่อเสริมความสำเร็จในการพูดภาษาอังกฤษ และ 3) เปรียบเทียบคะแนนสอบการพูดภาษาอังกฤษก่อนการทดลองและหลังการทดลองของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โดยใช้โซเชียล มีเดียเพื่อการเรียนรู้ กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยนี้เป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 95 คน แบ่งออก 2 ชั้นเรียน คือ กลุ่มทดลอง จำนวน 47 คน และกลุ่มควบคุม จำนวน 48 คน เครื่องมือ ได้แก่ 1) โซเชียลมีเดียยอดนิยมในสาธารณรัฐประชาชนจีน 2) สื่อการเรียนรู้ที่ส่งผ่านแอปพลิเคชันการเรียนรู้บนโซเชียลมีเดียเพื่อเพิ่มความสามารถในการพูดของนักเรียน 3) แบบประเมินความสอดคล้อง 4) แบบประเมินนักเรียนประถมศึกษาปีที่ 6 ที่เรียนจากแอปพลิเคชันบนโซเชียลมีเดีย และ 5) แบบสอบถามแรงจูงใจในการเรียนรู้ สถิติที่ใช้ในการศึกษา คือ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า 1) แอปพลิเคชันโซเชียลมีเดียสามารถขยายฟังก์ชันการศึกษาของโซเชียลมีเดียมากกว่าที่จะเป็นโซเชียลมีเดียสำหรับการสื่อสารในชีวิตประจำวันเท่านั้น และที่สำคัญครูผู้สอนได้นำแอปพลิเคชันโซเชียลมีเดียไปใช้สอนภาษาอังกฤษระดับประถมศึกษา เพื่อสอนการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนระดับประถมศึกษา 2) แรงจูงใจของนักเรียนหลังการใช้แอปพลิเคชันโซเชียลมีเดีย มีผลต่อความตระหนักในการเรียนรู้ อยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.78 การมีส่วนร่วมของนักเรียนในและนอกชั้นเรียนอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.87 และความเชื่อมั่นและความพึงพอใจของนักเรียน อยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.88 และ 3) ผู้เรียนที่เรียนด้วยแอปพลิเคชันโซเชียลมีเดีย (กลุ่มทดลอง) มีคะแนนการสอบการพูดภาษาอังกฤษสูงกว่ากลุ่มควบคุม มีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 13.77/9.46 การทดสอบค่าทีหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
URI: http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/4300
Appears in Collections:วิทยานิพนธ์ (Thesis-TECHED)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
RMUTT-175906.pdfManagement of English language teaching through social media application to create motivation for learning3.71 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.