Please use this identifier to cite or link to this item: http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/4388
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorนิลุบล วงศ์จำปา-
dc.date.accessioned2024-06-18T07:42:34Z-
dc.date.available2024-06-18T07:42:34Z-
dc.date.issued2565-
dc.identifier.urihttp://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/4388-
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบการเขียนอนุเฉทของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ระหว่างนักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ด้วยการเขียนแบบเน้นกระบวนการร่วมกับผังกราฟิกและนักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ด้วยวิธีปกติ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนสาธิตนวัตกรรมมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 จำนวน 40 คน โดยใช้การสุ่มวิธีการจัดการเรียนรู้ 2 วิธี เข้าห้องเรียน จำนวน 2 ห้องเรียน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แผนการจัดการเรียนรู้ด้วยการเขียนแบบเน้นกระบวนการร่วมกับผังกราฟิก แผนการจัดการเรียนรู้ด้วยวิธีปกติ และแบบทดสอบการเขียนอนุเฉท สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที (t-test) ผลการวิจัยพบว่า ความสามารถด้านการเขียนภาษาอังกฤษแบบอนุเฉทหลังเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 กลุ่มที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ด้วยการเขียนแบบเน้นกระบวนการร่วมกับการใช้ผังกราฟิก สูงกว่ากลุ่มที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ด้วยวิธีปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01en
dc.description.abstractThe purpose of this research was to compare Primary 6 (Grade 6) students’ paragraph writing abilities between learning management using process writing together with graphic organizers and learning management using the conventional method. The samples used in the research were 40 Primary 6 (Grade 6) students of Innovation Demonstration School, Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Pathum Thani province in the first semester of the academic year 2022, randomized 2 learning management, and entered 2 classrooms. The research instruments consisted of lesson plans constructed by using process writing together with graphic organizers, conventional method lesson plans, and paragraph writing tests. The data were analyzed using mean, standard deviation, and t-test. The research result revealed that paragraph writing abilities of the Primary 6 (Grade 6) students after learning using process writing together with graphic organizers were higher than the students learning using conventional method at a statistical significance level of .01.en
dc.language.isoThaien
dc.publisherมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม. สาขาวิชาการพัฒนาหลักสูตรและนวัตกรรมการสอน.en
dc.subjectการเขียนอนุเฉทen
dc.subjectการเขียนแบบเน้นกระบวนการen
dc.subjectผังกราฟิกen
dc.titleการพัฒนาการเขียนอนุเฉทโดยใช้วิธีการจัดการเรียนรู้ด้วยการเขียนแบบเน้นกระบวนการร่วมกับผังกราฟิกของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6en
dc.title.alternativeDevelopment of Paragraph Writing Using Process Writing Together with Graphic Organizers of Primary 6 (Grade 6) Studentsen
dc.typeThesisen
Appears in Collections:วิทยานิพนธ์ (Thesis-TECHED)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
RMUTT-176207.pdfการพัฒนาการเขียนอนุเฉทโดยใช้วิธีการจัดการเรียนรู้ด้วยการเขียนแบบเน้นกระบวนการร่วมกับผังกราฟิกของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 62.15 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.