Please use this identifier to cite or link to this item: http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/499
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorวีราภรณ์ ผิวสอาด
dc.contributor.authorวรวุฒิ สาตะสาร
dc.contributor.authorสุริยา ศรีระอุดม
dc.contributor.authorสมหมาย ผิวสอาด
dc.contributor.authorสิงห์โต สกุลเขมฤทัย
dc.date.accessioned2012-03-28T08:00:16Z
dc.date.accessioned2020-09-24T04:57:22Z-
dc.date.available2012-03-28T08:00:16Z
dc.date.available2020-09-24T04:57:22Z-
dc.date.issued2554
dc.identifier.urihttp://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/handle/123456789/499-
dc.description.abstractปัจจุบันได้มีการศึกษาวิจัยพลังงานทางเลือกใหม่ที่ได้จาก ผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรเพื่อลดการพึ่งพาผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมเพิ่ม มากขึ้น น้ำมันหล่อลื่นจัดเป็นพลังงานทางเลือกที่มีการศึกษาความ เป็นไปได้ในหลายประเทศรวมทั้งในประเทศไทย ในงานวิจัยนี้ได้ทำการ สังเคราะห์น้ำมันหล่อลื่นคุณภาพสูง โดยกระบวนการทรานเอสเทอร์ริฟิ เคชันของน้ำมันไบโอดีเซลจากไขมันวัว (FCME) กับสารโมโนเพนตะอี รีไทรทอล (MPE) โดยศึกษาผลของอุณหภูมิ ความดันสุญญากาศ และ อัตราส่วนเชิงโมลของสารตั้งต้น (FCME:MPE) และสมบัติทางกายภาพ ของผลิตภัณฑ์ ต่อปริมาณผลิตภัณฑ์ที่สังเคราะห์ได้ จากผลการ ทดลอง พบว่าอุณหภูมิและความดันสุญญากาศมีผลต่อการเกิดปฏิกิริยา อย่างมีนัยสำคัญ ในขณะที่อัตราส่วนเชิงโมลของสารตั้งต้นมีผลต่อ คุณสมบัติทางกายภาพของผลิตภัณฑ์ ซึ่งใช้สภาวะในการสังเคราะห์ แสดงดังต่อไปนี้: เวลา 4 ชัว่โมง อุณหภูมิ 100-130 องศาเซลเซียส ความดันสุญญากาศ 30 in.Hg อัตราส่วนเชิงโมลของสารตั้งต้น (FCME:MPE) 1:1- 4:1 และปริมาณตัวเร่งปฏิกิริยาโซเดียมเมทอกไซด์ 0.9% โดยน้ำหนัก จากนั้นทำการทดสอบสมบัติความหนืดและจุดวาบ ไฟจะพบว่าอัตราส่วนที่ 3:1 มีความหนืดและจุดวาบไฟมากที่สุด เท่ากับ 13.70 cts และ 205 องศาเซลเซียส ตามลำดับ ส่วนจุดไหลเท ที่มีค่าต่ำที่สุดคืออัตราส่วน 4:1 ซึ่งมีจุดไหลเท 7.9 องศาเซลเซียส เมื่อ นำสมบัติทางกายภาพไปเปรียบเทียบกับน้ำมันยี่ห้อคาสตรอลจะพบว่า มีความเป็นไปได้ที่จะสามารถนำไปประยุกต์ใช้กับน้ำมันไฮดรอลิกได้en_US
dc.language.isoThaien_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรีen_US
dc.subjectน้ำมันหล่อลื่นสังเคราะห์ กระบวนการทรานเอสเทอริฟิเคชันen_US
dc.subjectโมโนเพน ตะอีรีไทรทอลen_US
dc.subjectเมทิลเอสเทอร์จากน้ำมันไขมันวัวen_US
dc.titleการสังเคราะห์น้ำมันหล่อลื่นจากน้ำมันไบโอดีเซลที่ผลิตจากไขมันวัวด้วยกระบวนการทรานเอสเทอร์ริฟิเคชันen_US
dc.title.alternativeSynthesis of lubricating oil from cattle fat using transesterification processen_US
dc.typeProceedingsen_US
Appears in Collections:ประชุมวิชาการ (Proceedings)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
การสังเคราะห์น้ำมันหล่อลื่นจากน้ำมันไบโอดีเซลที่ผลิตจากไขมันวัว.pdfการสังเคราะห์น้ำมันหล่อลื่นจากน้ำมันไบโอดีเซลที่ผลิตจากไขมันวัวด้วยกระบวนการทรานเอสเทอร์ริฟิเคชัน1.05 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.