Please use this identifier to cite or link to this item: http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/550
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorอ้อยทิพย์ ผู้พัฒน์
dc.contributor.authorจีรวัฒน์ เหรียญอารีย์
dc.contributor.authorสุชาดา งามประภาวัฒน์
dc.contributor.authorสิวลี ไทยถาวร
dc.contributor.authorรัตนาภรณ์ มะโนกิจ
dc.contributor.authorเกรียงศักดิ์ สิงห์แก้ว
dc.date.accessioned2012-06-01T08:50:38Z
dc.date.accessioned2020-09-24T04:40:49Z-
dc.date.available2012-06-01T08:50:38Z
dc.date.available2020-09-24T04:40:49Z-
dc.date.issued2553
dc.identifier.urihttp://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/handle/123456789/550-
dc.description.abstractการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารจากส่วนต่างๆ ของบัวหลวง เป็นการศึกษาวิจัย โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสูตรพื้นฐานของผลิตภัณฑ์อาหารจานวน 9 ชนิด ที่ใช้วัตถุดิบจากส่วนประกอบของบัวหลวง ผลิตภัณฑ์อาหาร จานวน 9 ชนิด ได้แก่ ซาลาเปารากบัว, บาร์รากบัวน้าพริกเผารากบัว, น้าพริกนรกรากบัว, บัวลอยสอดไส้รากบัว, เยลลี่น้ารากบัว, ขนมรากบัว, ขนมทองเอกเม็ดบัว และกระยาสารทเม็ดบัว 2) ศึกษาทิศทาง และแนวโน้มในการปรับปรุงผลิตภัณฑ์อาหาร โดยใช้วิธี Just About Right Scale และการเก็บข้อมูลด้วยวิธี Central Location Test โดยวิเคราะห์ผลจากการยอมรับของผู้บริโภคต่อการบรรจุภัณฑ์และระยะเวลาการเก็บรักษาผลิตภัณฑ์อาหาร ทั้ง 9 ชนิด และ 3) วิเคราะห์คุณภาพผลิตภัณฑ์อาหารจากบัวหลวง ทั้ง 9 ชนิด เพื่อวิเคราะห์สมบัติทางกายภาพ, เคมี และจุลินทรีย์ สาหรับเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลในการศึกษาครั้งนี้ คือ แบบทดสอบการประเมินคุณภาพทางประสาทสัมผัส ผลการศึกษา พบว่า สูตรพื้นฐานของผลิตภัณฑ์อาหารทั้ง 9 ชนิด ที่มีราก และเม็ดบัวเป็นส่วนประกอบในการผลิตภัณฑ์อาหาร โดยใช้ส่วนผสมและวิธีการ ที่แตกต่างกันไป ขึ้นอยู่กับชนิดของผลิตภัณฑ์อาหาร ผลการศึกษาทิศทางการปรับปรุงสูตรพื้นฐานของผลิตภัณฑ์อาหาร ที่มีราก หรือเม็ดบัว เป็นส่วนประกอบ โดยการทดสอบทางประสาทสัมผัสด้านปัจจัยต่าง ๆ ของการประเมินคุณภาพ เข่น สี กลิ่น รสชาติ เนื้อสัมผัส และความชอบโดยรวม ของผลิตภัณฑ์อาหารทั้ง 9 ชนิด ได้รับการยอมรับจากผู้บริโภคในระดับดี ถึงดีมาก ด้านผลการยอมรับของผู้บริโภคต่อการบรรจุภัณฑ์ และระยะเวลาการเก็บรักษาผลิตภัณฑ์อาหาร ทั้ง 9 ชนิด พบว่าผู้บริโภคส่วนใหญ่มีระดับความพอใจในคุณภาพของบรรจุภัณฑ์ และวิธีการเก็บรักษาผลิตภัณฑ์อาหาร ที่แตกต่างกันไปตามชนิดของผลิตภัณฑ์อาหาร เมื่อพิจารณาผลในภาพรวม อาจสรุปได้ว่า ผู้บริโภคมีระดับความพอใจ และยอมรับ ในระดับมาก ถึง มากที่สุด ผลการศึกษาด้านคุณค่าทางโภชนาการของผลิตภัณฑ์อาหารทั้ง 9 ชนิด พิจารณาจากปริมาณของพลังงานที่ได้รับ จากการบริโภคผลิตภัณฑ์อาหารแต่ละชนิด ซึ่งประกอบด้วย คาร์โบไฮเดรต ไขมัน โปรตีน ความชื้น ใยอาหาร และเถ้า โดยมีผลการวิเคราะห์ที่แตกต่างกันไป ขึ้นอยู่กับส่วนผสม ปริมาณ และวิธีการปรุง ที่แตกต่างกัน ของผลิตภัณฑ์อาหารทั้ง 9 ชนิดen_US
dc.language.isoThaien_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์. สาขาวิชาอาหารและโภชนาการen_US
dc.subjectผลิตภัณฑ์อาหารen_US
dc.subjectบัว -- การแปรรูปen_US
dc.subjectอาหารจากบัวen_US
dc.subjectบัวหลวงen_US
dc.titleการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารจากส่วนต่างๆ ของบัวหลวงen_US
dc.title.alternativeโครงการย่อย : ชุดที่ 2 การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารจากส่วนต่างๆ ของบัวหลวงen_US
dc.title.alternativeRoyal Lotus : Food-Product Development from Its Partsen_US
dc.typeResearchen_US
Appears in Collections:วิจัย (Research - HET)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
1Front.pdfการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารจากส่วนต่างๆ ของบัวหลวง1.48 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.