Please use this identifier to cite or link to this item: http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/660
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorสุจยา ฤทธิศร
dc.contributor.authorสุกาญจน์ รัตนเลิศนุสรณ์
dc.contributor.authorศิริพร ลุนพรม
dc.date.accessioned2012-10-16T04:03:17Z
dc.date.accessioned2020-09-24T04:46:16Z-
dc.date.available2012-10-16T04:03:17Z
dc.date.available2020-09-24T04:46:16Z-
dc.date.issued2554
dc.identifier.urihttp://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/handle/123456789/660-
dc.description.abstractจากการศึกษาการใช้ราย่อยลิกนินในการผลิตเยื้อกระดาษจากกาบกล้วยน้ำว้าโดยวิธีทางชีวภาพ พบว่า ปริมาณเชื้อรา T. viride ที่เพิ่มมากขึ้นไม่มีผลต่อค่า Kappa number และการย่อยลิกนินแต่ขึ้นอยู่กับระยะเวลาในการเพาะเลี้ยง เมื่อนำเยื้อจากกาบกล้วยน้ำว้าที่ผลิตด้วย T. viride ฟอกด้วยไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ร้อยละ 0 8 10 12 14 และ 16 ค่า Kappa number ภายหลังจากการฟอกของเยื้อจากกาบกล้วยน้ำว้าที้ผลิตด้วย T. viride มีค่าน้อยกว่าเยื่อจากกาบกล้วยน้ำว้าที่ผลิตด้วยวิธีทางเคมี จากการนำเยื้อจากกาบกล้วยน้ำว้าที่ผลิตด้วย T. viride และที่ผลิตด้วยวิธีทางเคมีมาผลิตเป็นกระดาษและนำไปศึกษาค่าความสว่างพบว่ากระดาษจากกาบกล้วยน้ำว้าที่ผลิตด้วย T.viride ฟอกด้วยไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์จะใช้ปริมาณไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ในการฟอกน้อยกว่ากระดาษที่ผลิตด้วยวิธีทางเคมีแต่ได้ความขาวสว่างมากกว่าในทุกระดับความเข้มข้นของไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ จาก การคัดเลือกกระดาษที่ผลิตด้วย T. viride ฟอกด้วยไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ร้อยละ 12 เปรียบเทียบกับกระดาษที่ผลิตด้วยวิธีทางเคมีฟอกด้วยไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ร้อยละ 14 พบว่าคุณสมบัติด้านความต้านทานแรงดันทะลุของกระดาษที่ผลิตด้วย T. viride มีค่าน้อยกว่าที่ผลิตด้วยวิธีทางเคมี โดยมีค่าเท่ากับ 3.3 และ 3.9 kg/cm2 ตามลำดับ แต่ความต้านทานแรงฉีกขาดกระดาษจากกาบกล้วยน้ำว้าที่ผลิตด้วย T. viride มีค่ามากกว่ากระดาษที่ผลิตด้วยวิธีทางเคมี โดยมีค่าเท่ากับ 24 .33 mN.m2/g และ19.23 mN.m2/g ตามลำดับen_US
dc.description.abstractStudy in the application of ligninolytic fungi for biopulping from banana pseudo-stem of num-wa was found that the incremental of T.viride had no effect to Kappa number and lignin degradation but depend on cultured time. The banana pseudo-stem of num-wa biopulping by T.viride with varied hydrogen peroxide bleaching (i.e. 0, 8, 10, 12, 14 and 16%) had Kappa number lower than the product which was made from the chemical process. Paper produced from banana pseudo-stem of num-wa biopulping by T.viride used less hydrogen peroxide for bleaching than the chemical-made paper but yield more brightness in all level of hydrogen peroxide concentration. Comparison the selective paper produced from T.viride bleaching with 12% hydrogen peroxide to the selective paper produced from chemistry bleaching with 14% hydrogen peroxide found that bursting strength had lower valve by 3.3 and 3.9 kg/cm2, respectively. However, tearing strength of paper produced from T.viride had higher than the paper produced from chemistry bleaching by 24.33 and 19.23 mN.m2/g, respectively.en_US
dc.language.isoThen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีen_US
dc.subjectกล้วยน้ำว้า -- ผลิตกระดาษด้วยวิธีทางชีวภาพen_US
dc.subjectกระดาษ -- การผลิตen_US
dc.titleการผลิตเยื่อกระดาษจากกาบกล้วยน้ำว้าด้วยวิธีทางชีวภาพโดยใช้ Trichoderma viride : Biopulping from banana pseudo - stem of num-wa by trichoderma virideen_US
dc.typeResearchen_US
Appears in Collections:วิจัย (Research - SCI)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Biopulping from Banana Psendo - Stem of Num-Wa...pdfการผลิตเยื่อกระดาษจากกาบกล้วยน้ำว้าด้วยวิธีทางชีวภาพโดยใช้ Trichoderma viride : Biopulping from banana pseudo - stem of num-wa by trichoderma viride4.29 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.