Please use this identifier to cite or link to this item: http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/789
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorสายชล มงคล
dc.date.accessioned2013-04-29T04:03:16Z
dc.date.accessioned2020-09-24T04:41:02Z-
dc.date.available2013-04-29T04:03:16Z
dc.date.available2020-09-24T04:41:02Z-
dc.date.issued2554
dc.identifier.urihttp://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/handle/123456789/789-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาชนิดและลักษณะของผ้าที่มีผลต่อวิธีการเย็บวงแขนเสื้อสตรี 2) เพิ่มประสิทธิภาพการตัดเย็บแขนเสื้อสตรี กลุ่มทดลองที่ใช้ในการวิจัยมี 3 กลุ่มคือ นักเรียน ช่างเย็บผ้าจากห้องเสื้อ และพนักงานเย็บของโรงงานอุตสาหกรรมเครื่องนุ่งห่ม ทดลองการเย็บรูดย่นหัวแขนเสื้อสตรีจากผ้า 3 ชนิดคือ ผ้าไหมทอ 1 เส้น ผ้าฝ้ายมัสลิน และผ้าชีฟอง ด้วยเทคนิค 4 วิธีคือ การเนา การรีดย่น การเย็บรูด และการใช้ตีนผีย่น ศึกษาเวลามาตรฐานด้วยนาฬิกาสถิติที่ใช้วิเคราะห์คือ ร้อยละและค่าเฉลี่ย ทดสอบสมมุติฐาน และวิเคราะห์ความแปรปรวน ด้วย One – Way ANOVA ผลการทดลองพบว่า 1) ผ้าไหม 1 เส้น มีน้าหนัก 66.04 กรัมต่อตารางเมตรความหนาของผ้า 0.044 มิลลิเมตร ผ้าฝ้ายมัสลิน มีน้าหนัก 73.59 กรัมต่อตารางเมตร ความหนา ของผ้า 0.057 มิลลิเมตร และผ้าชีฟอง มีน้าหนัก 76.06 กรัมต่อตารางเมตร ความหนาของผ้า 0.106 มิลลิเมตร 2) ผ้าไหม 1 เส้น เย็บรูดย่นหัวแขนเสื้อด้วยตีนฝีย่นใช้เวลาน้อยที่สุดคือ 0.27 นาที ผ้ามัสลิน เย็บรูดย่นหัวแขนเสื้อด้วยวิธีเย็บรูดใช้เวลาน้อยที่สุดคือ 0.27 นาที 3) ผ้าชีฟอง เย็บรูดย่นหัวแขนเสื้อด้วยวิธีรีดย่นใช้เวลาน้อยที่สุดคือ 0.38 นาที ผลการทดสอบความแข็งแรงของตะเข็บพบว่า ผ้าไหม 1 เส้น มีความแข็งแรงของตะเข็บมากที่สุดคือ 251.31 นิวตัน และผลการส้ารวจความพึงพอใจด้านเทคนิคการเย็บรูดหัวแขนของกลุ่มทดลองพบว่า มีค่าเฉลี่ยดีมาก คือ 3.97en_US
dc.description.abstractThe objective of this research was to study the types and characteristics of fabrics that affected the women blouse armhole sewing, and to increase the efficiency in armhole sewing. The three experimental groups were 3 students, 3 dressmakers and 3 garment factory employees. Three kinds of fabrics were used: thin silk, muslin cotton and chiffon and the following four ease techniques were employed: basting, gathering by iron press, gather sewing and pucker foot. Statistical analysis of the standard time was presented in terms of percentage and mean. Hypothesis was tested and ANOVA (One - Way ANOVA: F-test) was employed for testing the variance. The research results were as follows. The weight per one square meter and the thickness of thin silk were 66.04 gm. and 0.044 mm., while those of muslin cotton were 73.59 gm. and 0.057; and of chiffon, 76.06 gm. and 106 mm. Among the four techniques of armhole sewing, the pucker foot technique gave better performance than the others. Concerning the standard time of the four techniques with the three kinds of fabric, the time of thin silk was 0.27 minutes; of cotton muslin, 0.27 minutes; and of chiffon, 0.38 minutes. Thin silk resulted in the strongest seam of 251.31 newton. It was also found that the sample groups’ average satisfaction of the gather sewing technique was at the very good level of 3.97.en_US
dc.language.isoThaien_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์. สาขาวิชาเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์en_US
dc.subjectผ้าen_US
dc.subjectการเย็บผ้าen_US
dc.titleการศึกษาชนิดของผ้าที่มีผลต่อวิธีการเย็บวงแขนเสื้อen_US
dc.title.alternativeA Study of Fabric Effects on Sewing the Armholeen_US
dc.typeThesisen_US
Appears in Collections:วิทยานิพนธ์ (Thesis - HET)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
124355.pdfการศึกษาชนิดของผ้าที่มีผลต่อวิธีการเย็บวงแขนเสื้อ6.41 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.