Please use this identifier to cite or link to this item: http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/813
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorพิกุล เกิดปลั่ง
dc.date.accessioned2013-05-03T05:04:27Z
dc.date.accessioned2020-09-24T04:50:43Z-
dc.date.available2013-05-03T05:04:27Z
dc.date.available2020-09-24T04:50:43Z-
dc.date.issued2554
dc.identifier.urihttp://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/handle/123456789/813-
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อพัฒนาชุดกิจกรรมการจัดประสบการณ์แบบโครงการโดยใช้แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงของเด็กปฐมวัย 2) เพื่อศึกษาดัชนีประสิทธิผลของนักเรียนที่เรียนจากชุดกิจกรรมการจัดประสบการณ์แบบโครงการโดยใช้แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงของเด็กปฐมวัยและ 3) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนโดยใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบโครงการโดยใช้แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง ประชากรที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนโรงเรียนเทศบาลท่าโขลง 1 (ฝ่ายอนุบาล) จำนวน 215 คน กลุ่มตัวอย่างคือ นักเรียนชั้นอนุบาล 1/4 โรงเรียนเทศบาลท่าโขลง 1 ได้จากการสุ่มแบบง่าย (Simple Random Sampling) จำนวน 34 คน เครื่องมือที่ใช้ในการทดลองคือ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบโครงการโดยใช้แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเป็นข้อสอบแบบปรนัย 3 ตัวเลือก จำนวน 10 ข้อ และแบบสังเกตพฤติกรรมการคิดแบบบูรณาการ ผลการวิจัย พบว่า 1) การพัฒนาชุดกิจกรรมการจัดประสบการณ์แบบโครงการโดยใช้แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงมีประสิทธิภาพ 81.99/83.53 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ 80/80 ที่ตั้งไว้ 2) ดัชนีประสิทธิผลของชุดกิจกรรมการจัดประสบการณ์แบบโครงการโดยใช้แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง มีค่าเท่ากับ 0.59 ซึ่งหมายความว่า ชุดกิจกรรมการจัดประสบการณ์แบบโครงการโดยใช้แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงของเด็กปฐมวัย ทา ให้ผลการเรียนของเด็กปฐมวัยเกิดการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่สูงขึ้นร้อยละ 59 3) คะแนนการทดสอบหลังเรียนสูงกว่าคะแนนการทดสอบก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05en_US
dc.description.abstractThe objective of this research was to 1) develop a project – approach activity set through experience of sufficiency economy theory for preschool children, 2) study an effectiveness index of students who study by the project – approach activity set through experience of sufficiency economy theory for preschool children and 3) compare pre-test and post-test achievement by the project – approach activity set through experience of sufficiency economy theory for preschool children. The population for this research was 215 students of the nursery at Thetsabanthakhlong 1 School. The sample size included 34 students in class of 1/4 by simple random sampling. The instruments used in the experiment include the project – approach activity set through experience of sufficiency economy theory for preschool children, third items of the achievement test as 10 questions, and the form of observation behavior integrated thinking. The results of the research indicated that : 1. Development of project – approach activity set through experience of sufficiency economy theory had an effective 81.99/83.53 rate, higher than the criteria of 80/80. 2. The effectiveness index of project – approach activity set through experience of sufficiency economy theory is 0.59. Therefore, the project – approach demonstrates an effect to achievement for preschool children increase of 59 percent. 3. Post-test score is higher than pre-test score by a statistically significant .05
dc.language.isoThaien_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม. วิชาเอกเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาen_US
dc.subjectการคิดแบบบูรณาการen_US
dc.subjectกิจกรรมการจัดประสบการณ์ชุดกิจกรรมแบบโครงการen_US
dc.subjectแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงen_US
dc.titleผลการใช้ชุดกิจกรรมการจัดประสบการณ์แบบโครงการโดยใช้แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงของเด็กปฐมวัยen_US
dc.title.alternativeResult of project-approach activity set through experience for preschool childrenen_US
dc.typeThesisen_US
Appears in Collections:วิทยานิพนธ์ (Thesis-TECHED)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Binder1.pdfResult of project-approach activity set through experience for preschool children7.58 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.