Please use this identifier to cite or link to this item: http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/1034
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorกษิรัช สนธิเปล่งศรี
dc.date.accessioned2014-01-06T06:19:55Z
dc.date.accessioned2020-09-24T04:17:13Z-
dc.date.available2014-01-06T06:19:55Z
dc.date.available2020-09-24T04:17:13Z-
dc.date.issued2555
dc.identifier.urihttp://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/handle/123456789/1034-
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพด้วยการลดอัตราการเสียหายของเครื่องฆ่าเชื้อของบริษัทฟรีสแลนด์คัมพิน่า และทำแผนการบำรุงรักษาเชิงป้องกันเพื่อป้องกันปัญหาที่จะเกิดขึ้นกับระบบควบคุมแรงดันหล่อเย็น โดยใช้หลักการพาเรโต้ในการจำแนกปัญหา และใช้การถามคำถามทำไม 5 ครั้ง (5 Whys) เพื่อหาต้นเหตุของปัญหา จากการวิเคราะห์ถึงต้นเหตุที่แท้จริง พบว่ามาจากแรงดันระบบหล่อเย็น มีแรงดันไม่เป็นไปตามมาตรฐานของเครื่องจักร จึงทาการปรับปรุงกระบวนการควบคุมแรงดันของระบบหล่อเย็นให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น โดยการเปลี่ยนระบบควบคุมแรงดันระบบหล่อเย็นที่เดิมใช้คนควบคุมเป็นระบบควบคุมแรงดันระบบหล่อเย็นแบบอัตโนมัติ และทาแผนการบำรุงรักษาเชิงป้องกัน ระบบควบคุมหล่อเย็นเพื่อป้องกันไม่ให้เกิดปัญหาซ้ำ ผลจากการปรับปรุงทำให้การเสียหายของเครื่องฆ่าเชื้อที่มีประวัติการเสียหายตั้งแต่เดือนมกราคม ถึงเดือนพฤศจิกายน 2555 มีอัตราเสียหายเฉลี่ย ร้อยละ 1.45 ของเวลาการผลิต ลดลงเหลือ ร้อยละ 0 ในเดือนธันวาคม 2555 และจากผลการศึกษานี้นำไปสร้างแผนการบำรุงรักษาเชิงป้องกันของอุปกรณ์ควบคุมแรงดันระบบหล่อเย็น The purposes of this study were to improve efficiency by reducing detriment rate of the sterilizers at Friesland Campina PCL, and to schedule preventive maintenance to protect from problems that occurred with the pressure control system. Pareto principle was used to classify the problem and 5Whys technique was used to determine the root cause of the problem. The analysis of root cause found that the pressure of the cooling system was not following the machine specification. The procedure of controlling the pressure of the cooling system was adjusted to increase efficiency by changing from manual to automatic control. The preventive maintenance plan for the cooling system was made to prevent iterative problems. The result from improvement demonstrated that originally the average sterilizer detriment rate from January to November 2012 was 1.45% of production time, and that rate was reduced to 0% in December 2012. The result was used to develop the proper preventive maintenance plan for the pressure control device of the cooling system.en_US
dc.language.isoThaien_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. คณะบริหารธุรกิจen_US
dc.subjectการทำความสะอาด -- เครื่องมือและอุปกรณ์en_US
dc.titleการปรับปรุงประสิทธิภาพการบำรุงรักษาเครื่องฆ่าเชื้อ : กรณีศึกษา บริษัทฟรีสแลนด์คัมพิน่าen_US
dc.title.alternativeEfficiency Improvement of Sterilizer Maintenance: Case Study of Friesland Campina PCLen_US
dc.typeThesisen_US
Appears in Collections:การค้นคว้าอิสระ (Independent Study - BUS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
131857.pdfการปรับปรุงประสิทธิภาพการบำรุงรักษาเครื่องฆ่าเชื้อ : กรณีศึกษา บริษัทฟรีสแลนด์คัมพิน่า4.9 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.