Please use this identifier to cite or link to this item: http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/1352
Title: การอุ่นยางธรรมชาติด้วยพลังงานไมโครเวฟโดยใช้ระบบท่อนำคลื่นทรงสี่เหลี่ยม : (I) ผลของความหนาชิ้นงานและองค์ประกอบในยางธรรมชาติคอมเปาวด์
Authors: วารุณี กลิ่นไกล และ ผดุงศักดิ์ รัตนเดโช
Keywords: Natural Rubber
Microwave Energy
Rectangular Wave Guide
Thickness and Compositions
Issue Date: 2009
Publisher: Rajamangala University of Technology Thanyaburi Faculty of Engineering
Abstract: เทคโนโลยีการให้ความร้อนแก่ยางธรรมชาติด้วยพลังงานไมโครเวฟนบว่ามีความเป็นไปได้อย่างมากในการอุ่นยางธรรมชาติคอมเปาวด์ที่ผสมและไม่ผสมด้วยเขม่าดำ แม้ว่ามีงานวิจัยที่ผ่านมาเรานิยมใช้การอุ่นยางด้วยการให้ความร้อนด้วยเตาอบโดยความร้อนจะผ่านไปยังผิวชิ้นงานแต่อย่างไรก็ตาม การให้ความร้อนด้วยวิธีดังกล่าวต้องใช้เวลานานมาก ใช้คนงานปริมาณมากและสูญเสียพลังงาน ดังนั้นคณะผู้วิจัยจึงมีความสนใจที่จะนำพลังงานไมโครเวฟมาใช้ในการอุ่นยางธรรมชาติแทนวิธีแบบดั้งเดิม โดยศึกษาถึงสภาวะต่างๆ เช่น กำลังวัตต์ ปริมาณกำมะถัน ความหนาชิ้นงาน ที่มีผลต่อการให้ความร้อนด้วยพลังงานไมโครเวฟของยางธรรมชาติที่ไม่มีการเติมด้วยเขม่าดำและที่เติมด้วยเขม่าดำยางธรรมชาติคอมเปาวด์จะผ่านพลังงานไมโครเวฟโดยใช้ Rectangular Wave Guide (MODE: TE10) ที่ความถี่ 2.45 GHz และเปลี่ยนกำลังวัตต์ตั้งแต่ 200, 500, 800 และ 1000 วัตต์ ตามลำดับ จากการทดลองเราพบว่ากำลังวัตต์ที่เหมาะสมแก่การอุ่นยางคือ 1000 วัตต์ โดยสามารถให้ความร้อนแก่ยางที่อุณหภูมิถึง 150 degree celsius ใช้เวลาน้อยกว่า 20 นาทีและชิ้นงานมีรูปร่างปกติ สามารถลดปริมาณความชื้นในชิ้นยางธรรมชาติได้ 25.80%
Description: การประชุมเครือข่ายความร่วมมือทางวิชาการนานาชาติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล 16-18 มกราคม 2552 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
URI: http://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/handle/123456789/1352
Appears in Collections:ประชุมวิชาการ (Proceedings - EN)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
17-Pre-heating of natural rubber wih....pdfการอุ่นยางธรรมชาติด้วยพลังงานไมโครเวฟโดยใช้ระบบท่อนำคลื่นทรงสี่เหลี่ยม : (I) ผลของความหนาชิ้นงานและองค์ประกอบในยางธรรมชาติคอมเปาวด์2.05 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.