Please use this identifier to cite or link to this item: http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/1634
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorปลื้มจิตต์ เตชธรรมรักข์
dc.contributor.authorพิษณุ แสงวัฒนะ
dc.date.accessioned2014-05-16T03:09:22Z
dc.date.accessioned2020-09-24T04:33:55Z-
dc.date.available2014-05-16T03:09:22Z
dc.date.available2020-09-24T04:33:55Z-
dc.date.issued2553
dc.identifier.issn1685-5280
dc.identifier.urihttp://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/handle/123456789/1634-
dc.descriptionวารสารวิศวกรรมศาสตร์ ราชมงคลธัญบุรี ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม – มิถุนายน 2553en_US
dc.description.abstractการศึกษาเปรียบเทียบ ตะเข็บผ้าใยสังเคราะห์ที่เย็บเชื่อมด้วยจักรอัลทราโซนิคและการเย็บด้วยเส้นด้ายโดยใช้จักรอุตสาหกรรม ทำการทดลองด้วยผ้าตัวอย่างสามชนิดคือ ผ้าทอพอลิเอสเทอร์ ผ้าทอไนลอน และผ้าทอไนลอนเคลือบพอลิยูริเทน (PU) พบว่า ตะเข็บของผ้าที่เย็บเชื่อมด้วยจักรอัลทราโซนิคโดยใช้แรงกดของวงล้อโลหะ 1.0 บาร์เชื่อมด้วยความเร็ว 1 เมตร/นาที มีความแข็งแรงต่ำกว่าความแข็งแรงที่ยอมรับได้ของตะเข็บเสื้อแจ๊คเก็ตสำหรับส่งออกที่เย็บด้วยจักรอุตสาหกรรมด้วยความถี่ 12 ฝีเข็มต่อนิ้ว (15 กิโลเมตร) อย่างไรก็ตามเมื่อพิจารณาสมบัติการสะท้อนน้ำพบว่า ตะเข็บของผ้าที่เย็บเชื่อมด้วยจักรอัลทราโซนิคมีสัมบัติการสะท้อนน้ำได้ดี แม้จะผ่านการซักล้างถึง 5 ครั้ง ในขณะที่ตะเข็บของผ้าที่เย็บเชื่อมด้วยจักรอัลทราโซนิคมีสมบัติการสะท้อนน้ำได้ดี แม้จะผ่านการซักล้างถึง 5 ครั้ง ในขณะที่ตะเข็บของผ้าที่เย็บด้วยเส้นด้ายมีน้ำซึมที่แนวเย็บ ตะเข็บผ้าที่เย็บด้วยจักรอัลทราโซนิคด้วยความเร็วและแรงกดของวงล้อที่เหมาะสมสามารถป้องกันการรั่วซึมของผ้า ภายใต้แรงดันน้ำ 3 ปอนต์ต่อตารางนิ้ว ในเวลา 2 นาที โดยมีสมบัติเทียบเคียงกับตะเข็บด้ายเย็บและกลิ้งด้วยกาวร้อนของเสื้อแจ๊คเก็ตen_US
dc.description.abstractThe paper compares the seam property of fabric seam welded with ultrasonic welding machine to the typical seam sewn with industrial sewing machine. Three woven samples made of polyester, nylon and nylon coated with polyurethane were used. Fabric seam strength welded with ultrasonic sewing machine (using sealing wheel pressure at I bar and sewing speed at I meter per minute) is weaker than the general required seam strength for exported jacket which is approximately 15 kgf. However, fabric seam can resist water penetration at the seam even after 5th washed. The seam welded with ultrasonic welding machine under a given sealing wheel pressure and welding speed could prevent water leakage at the seam. This is referred to hydrostatic test under water pressure of 3 pounds per square inch within 2 minutes testing period. This seam property is comparative to the seam of a jacket sewn with thread and seal with hot glue.en_US
dc.language.isoThaien_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. คณะวิศวกรรมศาสตร์en_US
dc.subjectจักรเย็บผ้าen_US
dc.subjectการเย็บผ้าen_US
dc.subjectจักรอัลทราโซนิคen_US
dc.titleเปรียบเทียบตะเข็บที่เย็บเชื่อมด้วยอัลทราโซนิคและจักรอุตสาหกรรมen_US
dc.title.alternativeCompared Fabric Seam Welded with Ultrasonic to Typical Seamen_US
dc.typeArticleen_US
Appears in Collections:บทความ (Article - EN)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Y.08 Vol.1 p.41-47 2553.pdfเปรียบเทียบตะเข็บที่เย็บเชื่อมด้วยอัลทราโซนิคและจักรอุตสาหกรรม719.37 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.