Please use this identifier to cite or link to this item: http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/1833
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorภัทรพันธ์ ทองยศ
dc.contributor.authorสมิทธ์ เอี่ยมสอาด
dc.contributor.authorสมพล สกุลหลง
dc.contributor.authorสุริยา โชคเพิ่มพูน
dc.contributor.authorวิทูรย์ ชิงถ้วยทอง
dc.contributor.authorพงษ์เจต พรหมวงศ์
dc.contributor.authorณัติวิภา เจียระไนวชิระ
dc.date.accessioned2014-10-07T08:05:40Z
dc.date.accessioned2020-09-24T04:36:16Z-
dc.date.available2014-10-07T08:05:40Z
dc.date.available2020-09-24T04:36:16Z-
dc.date.issued2013
dc.identifier.urihttp://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/handle/123456789/1833-
dc.description.abstractวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตร เช่น ฟางข้าว แกลบ ทะลายปาล์ม กากอ้อย ซังข้าวโพด เป็นต้น สิ่งเหล่านี้ล้วนมีคุณสมบัติการเป็นเชื้อเพลิงหรือที่รู้จักกันในนามเชื้อเพลิงชีวมวล โดยเชื้อเพลิงชีวมวลนับว่าเป็นอีกหนึ่งพลังงานทางเลือกที่ได้รับความสนใจเป็นอย่างมาก นอกจากจะสามารถให้พลังงานออกมาแล้วยังเป็นการกำจัดวัสดุเหลือทิ้งเหล่านี้ด้วย หนึ่งในกระบวนการการเปลี่ยนรูปแบบพลังงานที่อยู่ในชีวมวลให้เป็นพลังงานในรูปแบบต่างๆ ที่ได้รับความนิยมและนับว่ามีความสะดวกในการดำเนินการ คือ กระบวนการการเผาไหม้ด้วยเตาเผาชนิดต่างๆ ซึ่งงานวิจัยนี้ได้ทำการศึกษาถึงเปรียบเทียบพฤติกรรมการเผาไหม้ภายในเตาเผาฟลูอิไดซ์เบดที่มีการพัฒนาในส่วนของห้องเผาไหม้โดยการอาศัยการสร้างอากาศหมุนวนด้วยกาติดครีบรูปตัววีคว่ำ 30 degree, 45 degree และ 60 degree ซึ่งจะศึกษาถึงลักษณะการกระจายตัวของอุณหภูมิ องค์ประกอบแก๊สไอเสีย ผลการศึกษาพบว่าการติดตั้งครีบสามารถเพิ่มระดับอุณหภูมิการเผาไหม้ได้ดีกว่ากรณีเตาเผาที่ไม่มีการติดครีบ โดยการติดครีบครีบรูปตัววีคว่ำ 45 degree ให้ค่าอุณหภูมิโดยเฉลี่ยสูงสุดที่ประมาณ 710 องศาเซลเซียส ปริมาณแก๊สไอเสียในส่วนของคาร์บอนมอนอกไซด์ (CO) มีค่าอยู่ระหว่าง 221-263 ppm และกลุ่มออกไซด์ของไนโตรเจน (NOx) มีค่าอยู่ระหว่าง 122-157 ppm ซึ่งเป็นค่าที่ต่ำกว่ามาตรฐานกำหนดสำหรับการใช้เชื้อเพลิงชีวมวล จากผลการศึกษาจะเห็นว่าการนำหลักการการสร้างอากาศหมุนวนมาช่วยพัฒนาห้องเผาไหม้ของเตาเผาฟลูอิไดซ์เบดได้ ดังนั้นหากนำแนวคิดนี้ไปประยุกต์ใช้จริงจะช่วยให้สามารถใช้เชื้อเพลิงชีวมวลแปรเปลี่ยนพลังงานได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherRajamangala University of Technology Thanyaburi. Faculty of Engineeringen_US
dc.subjectเตาเผาฟลูอิไดซ์เบดen_US
dc.subjectเชื้อเพลิงชีวมวลen_US
dc.subjectการเผาไหม้en_US
dc.titleอิทธิพลของมุมปะทะของครีบวางขวางต่อการเผาไหม้เชื้อเพลิงชีวมวลภายในเตาเผาฟลูอิไดซ์เบดen_US
dc.typeOtheren_US
Appears in Collections:ประชุมวิชาการ (Proceedings - EN)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
TOT-04 p597-603.pdfอิทธิพลของมุมปะทะของครีบวางขวางต่อการเผาไหม้เชื้อเพลิงชีวมวลภายในเตาเผาฟลูอิไดซ์เบด594.61 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.